ผลต่างระหว่างรุ่นของ "คืบพระสุคต"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
OctraBot (คุย | ส่วนร่วม)
moveCategory
Poonyo (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 1:
{{รอการตรวจสอบ}}
{{พุทธศาสนา}}
'''คืบพระสุคต''' เป็นภาษา[[พระวินัย]] เป็นชื่อ[[มาตราวัด]] มีปรากฏหลายแห่งในพระวินัย เช่น ความสูงของ[[พระพุทธเจ้า]] ความสูงของเตียง ขนาด[[จีวร]] เป็นต้น สันนิษฐานว่าเดิมคงทรงกำหนดด้วยนิ้วพระหัตถ์ของพระองค์โดยประมาณและเทียบกับนิ้วช่างไม้ในสมัยนั้น จึงมีข้อสันนิษฐานกันมากมาย เช่น ๑ คืบพระสุคตเท่ากับ ๓ คืบของคนปานกลางสมัยนั้นหรือเท่ากับ ๑ ศอก คืบช่างไม้ดูจะสูงและยาวเกินความจริง จึงไม่เป็นที่ยอมรับ
 
'''คืบพระสุคต''' ในปัจจุบันได้ข้อยุติว่าให้ถือตามมาตราวัดเป็นเมตร คือ '''"๑ คืบพระสุคตเท่ากับ ๒๕ เซนติเมตร'''" ๒ คืบพระสุคตเท่ากับ ๕๐ เซนติเมตร หรือ ๑ ศอกช่างไม้ ดังนั้น ๑ เมตรจึงเท่ากับ ๔ คืบพระสุคตหรือ ๒ ศอกช่างไม้ มตินี้เป็นที่ยอมรับกัน
 
== อ้างอิง ==
'''คืบพระสุคต''' สันนิษฐานว่าเดิมคงทรงกำหนดด้วยนิ้วพระหัตถ์ของพระองค์โดยประมาณและเทียบกับนิ้วช่างไม้ในสมัยนั้น จึงมีข้อสันนิษฐานกันมากมาย เช่น ๑ คืบพระสุคตเท่ากับ ๓ คืบของคนปานกลางสมัยนั้นหรือเท่ากับ ๑ ศอก คืบช่างไม้ดูจะสูงและยาวเกินความจริง จึงไม่เป็นที่ยอมรับ
{{รายการอ้างอิง}}
 
{{เริ่มอ้างอิง}}
'''คืบพระสุคต''' ในปัจจุบันได้ข้อยุติว่าให้ถือตามมาตราวัดเป็นเมตร คือ '''๑ คืบพระสุคตเท่ากับ ๒๕ เซนติเมตร''' ๒ คืบพระสุคตเท่ากับ ๕๐ เซนติเมตร หรือ ๑ ศอกช่างไม้ ดังนั้น ๑ เมตรจึงเท่ากับ ๔ คืบพระสุคตหรือ ๒ ศอกช่างไม้ มตินี้เป็นที่ยอมรับกัน
 
 
==อ้างอิง==
* [[พระธรรมกิตติวงศ์]] (ทองดี สุรเตโช) ป.ธ. ๙ [[ราชบัณฑิต]] ''พจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ ชุด '''คำวัด,''' '' [[วัดราชโอรสาราม]] กรุงเทพฯ พ.ศ. 2548
{{จบอ้างอิง}}
 
[[หมวดหมู่:ศาสนาพุทธ]]
[[หมวดหมู่:หน่วยความยาว]]
[[หมวดหมู่:อภิธานศัพท์ศาสนาพุทธ]]
{{โครงศาสนาพุทธ}}