ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เฮนรี เบอร์นี"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Xiengyod (คุย | ส่วนร่วม)
Xiengyod (คุย | ส่วนร่วม)
ปรับแก้ +เนื้อหา +จัดหมวดหมู่
บรรทัด 1:
'''เฮนรี เบอร์นี''' ([[27 กุมภาพันธ์]] [[ค.ศ. 1792]][[4 มีนาคม]] [[ค.ศ. 1845]]) เป็นพ่อค้าและทูตชาวอังกฤษของ[[บริษัทอินเดียตะวันออกของอังกฤษ]] บิดาของเขาชื่อ ริชาร์ด ทอมัส เบอร์นี (1768-1808) ครูใหญ่โรงเรียนสอนเด็กกำพร้าที่คิดเดอร์พอร์ และ มารดาของเขาชื่อ เจน เบอร์นี (1772-1842) เขาเป็นหลานชายของนักเขียน ฟรานซิส เบอร์นี (1752-1840) เมื่อวันที่ 30 มิถุนายน ค.ศ. 1818 เขาได้สมรสกับเจเน็ต แบนเนอร์แมน (1799-1865) ที่โบสถ์เซนต์จอร์จ ในจอร์จทาวน์ [[ปีนัง]] [[มาลายา]] มีบุตรธิดาร่วมกัน 13 คน โดยมี 8 คนที่ยังมีชีวิตอยู่ในเวลาที่เขาเสียชีวิต เจเน็ตเป็นหลานสาวของจอห์น อเล็กซานเดอร์ แบนเนอร์แมน ผู้เป็นผู้ว่าราชการปีนังในมาลายา
 
เฮนรี เบอร์นีเสียชีวิตในทะเล ใน ค.ศ. 1845 และร่างของเขาถูกฝังในสุสานมิชชันบนถนนปาร์กในโกลกาตา
การทำงาน
 
== การทำงาน ==
ค.ศ. 1807 เบอร์นีได้เข้าร่วมกับบริษัทอินเดียตะวันออก ค.ศ. 1818 ปีเดียวกับที่เขาสมรสกับเจเน็ต แบนเนอร์แมน เขาได้รับแต่งตั้งให้เป็นร้อยโทและเสนาธิการกรมทหารราบพื้นเมืองเบงกอลที่ 20 รักษาการนายกเทศมนตรีเมืองปีนัง และเลขานุการฝ่ายทหารให้แก่ผู้ว่าราชการแบนเนอร์แมน ในภายหลัง เขาได้ทำงานเป็นเจ้าหน้าที่ของบริษัทอินเดียตะวันออก โดยเก็บรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับประเทศพม่าและสยาม ระหว่างสงครามอังกฤษ-พม่าครั้งที่หนึ่ง (1823-26) หลังจากเขาได้รับแต่งตั้งเป็นผู้แทนทูตการเมืองในสยาม ใน ค.ศ. 1825 เขาได้เข้าเฝ้าพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวในปีต่อมา ซึ่งได้มีการทำสัญญาระหว่างทั้งสองประเทศในสนธิสัญญาเบอร์นี และข้อตกลงทางพาณิชย์ซึ่งกระตุ้นการพัฒนาการค้าระหว่างภูมิภาคสยามและทวีปยุโรป เขายังได้เข้าร่วมในการเจรจาพรมแดนสองฝ่ายระหว่างสยามและพม่าใต้การปกครองของอังกฤษ ทำให้มีเพียงพรมแดนบริเวณด่านเจดีย์สามองค์ในจังหวัดกาญจนบุรีเท่านั้นที่ยังคงป็นกรณีพิพาท หลัง ค.ศ. 1829 เบอร์นีเป็นทูตชาวอังกฤษในราชสำนักของพระเจ้าพะคยีดอในอังวะ ที่ซึ่งเขาประสบความสำเร็จในการเจรจาคืนหุบเขากาบอจากมณีปุระให้แก่พม่า ใน ค.ศ. 1834 เขาได้รับการเลื่อนยศให้เป็นพันโทในกองทัพเบงกอล
 
[[ค.ศ. 1807]] เบอร์นีได้เข้าร่วมกับบริษัทอินเดียตะวันออก [[ค.ศ. 1818]] ปีเดียวกับที่เขาสมรสกับเจเน็ต แบนเนอร์แมน เขาได้รับแต่งตั้งให้เป็นร้อยโทและเสนาธิการกรมทหารราบพื้นเมืองเบงกอลที่ 20 รักษาการนายกเทศมนตรีเมืองปีนัง และเลขานุการฝ่ายทหารให้แก่ผู้ว่าราชการแบนเนอร์แมน ในภายหลัง เขาได้ทำงานเป็นเจ้าหน้าที่ของบริษัทอินเดียตะวันออก โดยเก็บรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับ[[ประเทศพม่า]]และ[[สยาม]] ระหว่าง[[สงครามอังกฤษ-พม่า]]ครั้งที่หนึ่ง (1823-26)
 
ค.ศ. 1807 เบอร์นีได้เข้าร่วมกับบริษัทอินเดียตะวันออก ค.ศ. 1818 ปีเดียวกับที่เขาสมรสกับเจเน็ต แบนเนอร์แมน เขาได้รับแต่งตั้งให้เป็นร้อยโทและเสนาธิการกรมทหารราบพื้นเมืองเบงกอลที่ 20 รักษาการนายกเทศมนตรีเมืองปีนัง และเลขานุการฝ่ายทหารให้แก่ผู้ว่าราชการแบนเนอร์แมน ในภายหลัง เขาได้ทำงานเป็นเจ้าหน้าที่ของบริษัทอินเดียตะวันออก โดยเก็บรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับประเทศพม่าและสยาม ระหว่างสงครามอังกฤษ-พม่าครั้งที่หนึ่ง (1823-26) หลังจากเขาได้รับแต่งตั้งเป็นผู้แทนทูตการเมืองในสยาม ใน [[ค.ศ. 1825]] เขาได้เข้าเฝ้าพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวในปีต่อมา ซึ่งได้มีการทำสัญญาระหว่างทั้งสองประเทศในสนธิสัญญาเบอร์นี และข้อตกลงทางพาณิชย์ซึ่งกระตุ้นการพัฒนาการค้าระหว่างภูมิภาคสยามและทวีปยุโรป เขายังได้เข้าร่วมในการเจรจาพรมแดนสองฝ่ายระหว่างสยามและพม่าใต้การปกครองของอังกฤษ ทำให้มีเพียงพรมแดนบริเวณ[[ด่านเจดีย์สามองค์]]ใน[[จังหวัดกาญจนบุรี]]เท่านั้นที่ยังคงป็นกรณีพิพาท หลัง ค.ศ. 1829 เบอร์นีเป็นทูตชาวอังกฤษในราชสำนักของพระเจ้าพะคยีดอในอังวะ ที่ซึ่งเขาประสบความสำเร็จในการเจรจาคืนหุบเขากาบอจากมณีปุระให้แก่พม่า ใน ค.ศ. 1834 เขาได้รับการเลื่อนยศให้เป็นพันโทในกองทัพเบงกอล
 
หลัง [[ค.ศ. 1829]] เบอร์นีเป็นทูตชาวอังกฤษในราชสำนักของ[[พระเจ้าบาจีดอ]]ในอังวะ ที่ซึ่งเขาประสบความสำเร็จในการเจรจาคืนหุบเขากาบอจาก[[มณีปุระ]]ให้แก่พม่า
 
ใน [[ค.ศ. 1834 ]]เขาได้รับการเลื่อนยศให้เป็นพันโทในกองทัพเบงกอล
 
{{birth|1792}}
{{death|1845}}
 
[[หมวดหมู่:นักการทูตชาวอังกฤษ]]