ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พฤกษศาสตร์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Xiengyod (คุย | ส่วนร่วม)
AAAERTCM (คุย | ส่วนร่วม)
จัดรูปแบบ +เก็บกวาดด้วยสจห.
บรรทัด 1:
{{ต้องการอ้างอิง}}
[[ไฟล์:Diversity_of_plants_image_version_3.png|180px|right|ตัวอย่างสิ่งมีชีวิตในอาณาจักรพืช]]'''พฤกษศาสตร์''' ({{Lang-en|botany}}) หรือ '''ชีววิทยาของพืช''' ({{Lang-en|Plant Biology, Plant Science}}) เป็นสาขาวิชาหนึ่งของ[[ชีววิทยา]] ที่ศึกษาเกี่ยวกับ[[พืช]]และการเจริญเติบโต พฤกษศาสตร์มีขอบเขตการศึกษาที่กว้างขวางครอบคลุมตั้งแต่พืช สาหร่าย และเห็ดรา ศึกษาทั้งในด้านโครงสร้าง [[การเจริญเติบโต]] [[การสืบพันธุ์]] [[เมแทบอลิซึม]] โรค และคุณสมบัติทางเคมีและความสัมพันธ์ทางวิวัฒนาการระหว่างกลุ่มต่างๆ การศึกษาทางด้านพฤกษศาสตร์เริ่มต้นจากความรู้ที่สืบต่อกันมา จากการจำแนกพืชที่กินได้ พืชสมุนไพรและพืชมีพิษ เป็นศาสตร์ที่เก่าแก่สาขาหนึ่งของวิทยาศาสตร์ จากความสนใจในเรื่องพืชของบรรพบุรษทำให้ปัจจุบันจำแนกสิ่งมีชีวิตในด้านพฤกษศาสตร์มากกว่า 550,000 ชนิดหรือสปีชีส์
[[ไฟล์:Diversity_of_plants_image_version_3.png|thumb|180px|right|ตัวอย่างสิ่งมีชีวิตในอาณาจักรพืช]]
 
[[ไฟล์:Diversity_of_plants_image_version_3.png|180px|right|ตัวอย่างสิ่งมีชีวิตในอาณาจักรพืช]]'''พฤกษศาสตร์''' ({{Lang-en|botany}}) หรือ '''ชีววิทยาของพืช''' ({{Lang-en|Plant Biology, Plant Science}}) เป็นสาขาวิชาหนึ่งของ[[ชีววิทยา]] ที่ศึกษาเกี่ยวกับ[[พืช]]และการเจริญเติบโต พฤกษศาสตร์มีขอบเขตการศึกษาที่กว้างขวางครอบคลุมตั้งแต่พืช สาหร่าย และเห็ดรา ศึกษาทั้งในด้านโครงสร้าง [[การเจริญเติบโต]] [[การสืบพันธุ์]] [[เมแทบอลิซึม]] โรค และคุณสมบัติทางเคมีและความสัมพันธ์ทางวิวัฒนาการระหว่างกลุ่มต่างๆ การศึกษาทางด้านพฤกษศาสตร์เริ่มต้นจากความรู้ที่สืบต่อกันมา จากการจำแนกพืชที่กินได้ พืชสมุนไพรและพืชมีพิษ เป็นศาสตร์ที่เก่าแก่สาขาหนึ่งของวิทยาศาสตร์ จากความสนใจในเรื่องพืชของบรรพบุรษทำให้ปัจจุบันจำแนกสิ่งมีชีวิตในด้านพฤกษศาสตร์มากกว่า 550,000 ชนิดหรือสปีชีส์
 
== ขอบเขตและความสำคัญของพฤกษศาสตร์ ==
ดังเช่นสิ่งมีชีวิตอื่นๆ พืชก็สามารถศึกษาได้จากหลายแง่มุม ทั้งในด้านโมเลกุล [[พันธุศาสตร์]] หรือ[[ชีวเคมี]] และศึกษาได้ตั้งแต่ระดับออร์แกเนลล์ เซลล์ เนื้อเยื่อ อวัยวะ ต้นพืช ประชากร ไปจนถึงระดับชุมชนหรือสังคมของพืช ในแต่ละระดับเหล่านี้ นักพฤกษศาสตร์อาจสนใจศึกษาได้ทั้งในด้านการจัดหมวดหมู่ ([[อนุกรมวิธาน]]) ด้านโครงสร้าง ([[กายวิภาคศาสตร์]]) หรือด้านหน้าที่ ([[สรีรวิทยา]]) ของส่วนต่างๆ ของพืช
 
ในอดีตนั้น สิ่งมีชีวิตทั้งหมดจะถูกจำแนกให้อยู่ในกลุ่มพืชหรือกลุ่มสัตว์ พฤกษศาสตร์จึงครอบคลุมสิ่งมีชีวิตทั้งหมดที่ไม่ได้ถูกพิจารณาให้อยู่ในกลุ่มสัตว์ สิ่งมีชีวิตบางจำพวกซึ่งครั้งหนึ่งเคยอยู่ในสาขาพฤกษศาสตร์ไม่ได้ถูกจัดอยู่ในอาณาจักรพืชมานานแล้วได้แก่ เห็ดรา ([[วิทยาเห็ดรา]]) [[แบคทีเรีย]] ([[วิทยาแบคทีเรีย]]) [[ไวรัส]] ([[วิทยาไวรัส]]) และสาหร่ายเซลล์เดียว ซึ่งกลุ่มสาหร่ายเซลล์เดียวถูกจัดส่วนหนึ่งของ[[โพรทิสตา]]ในปัจจุบัน อย่างไรก็ตาม นักพฤกษศาสตร์ยังคงให้ความสำคัญกับสิ่งมีชีวิตเหล่านี้ เห็ดรา ไลเคน แบคทีเรีย และโพรทิสที่มีกระบวนการ[[สังเคราะห์ด้วยแสง]]ยังถูกจัดให้อยู่ในวิชาพฤกษศาสตร์เบื้องต้น
เส้น 38 ⟶ 41:
 
== นิรุกติศาสตร์ ==
พฤกษศาสตร์ตามความหมายของพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 มีความหมายว่า วิชาว่าด้วยต้นไม้ พฤกษศาสตร์มาจากคำว่า พฤกษ (พฺรึกสะ) หมายถึงต้นไม้ มีรากศัพท์มาจากภาษากึ่งบาลีกึ่งสันสกฤตจาก วฺฤกฺษ ในภาษาสันสกฤตและ รุกฺข ในภาษาบาลี กับคำว่า ศาสตร์ (สาด) หมายถึงระบบวิชาความรู้ มีรากศัพท์มาจากภาษาสันสกฤต
 
== ประวัติศาสตร์ของพฤกษศาสตร์ ==
เส้น 62 ⟶ 65:
[[ไฟล์:Mahidol_PL.jpg|right|thumb|การเรียนการสอนของ[[ภาควิชาพฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล]]]]
* [http://www.sc.chula.ac.th/Botany/ ภาควิชาพฤกษศาสตร์] [[คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]]
# วิทยาศาสตร์บัณฑิต วท.บ (พฤกษศาสตร์), B.Sc (Botany)
# วิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต วท.ม (พฤกษศาสตร์), M.Sc (Botany)
# วิทยาศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต วท.ด (พฤกษศาสตร์), D.Sc (Botany)
* [http://botany.sci.ku.ac.th/ ภาควิชาพฤกษศาสตร์] [[คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์]]
# วิทยาศาสตร์บัณฑิต วท.บ (พฤกษศาสตร์), B.Sc (Botany)
# วิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต วท.ม (พฤกษศาสตร์), M.Sc (Botany)
# ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต ปร.ด (พฤกษศาสตร์), Ph.D (Botany)
* [[ภาควิชาพฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล]]
# วิทยาศาสตร์บัณฑิต วท.บ (พฤกษศาสตร์), B.Sc (Plant Science)
# วิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต วท.ม (วิทยาการพืช) หลักสูตรนานาชาติ, M.Sc (Plant Science) international program
 
 
เส้น 89 ⟶ 92:
 
{{ชีววิทยา}}
 
{{ต้องการอ้างอิง}}
 
[[หมวดหมู่:พฤกษศาสตร์|พฤกษศาสตร์]]