ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรวุฒิอาภรณ์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Varavudhi (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Varavudhi (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 41:
** หม่อมราชวงค์พรพุฒิ วรวุฒิ
** ศ.ดร.หม่อมราชวงค์ พุฒิพงศ์ วรวุฒิ
ศาสตราจารย์ ดร. ม.ร.ว.พุฒิพงศ์ วรวุฒิ มีผลงานวิจัยอันเป็นงานบุกเบิกที่ช่วยสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับกลไกการกำเนิดและการคุมกำเนิดในสัตว์ทดลองพวกฟันแทะและลิงหางยาวหรือลิงแสม
โดยเน้นหาความสัมพันธ์ในการควบคุมทั้งที่ระดับต่อมใต้สมองและระดับรังไข่ เพื่อใช้เป็นแนวทางในการควบคุมการ
ฝังตัวของบลาสโตซิสที่เยื่อบุผนังมดลูก พร้อมกันนี้ยังสร้างกลุ่มวิจัยในลิงหางยาวที่หน่วยวิจัยไพรเมท จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
[แก้ไข] ประวัติ
 
เกิด 4 มกราคม 2475 เป็นบุตรคนที่ 3 ของ ม.จ.วรพงษ์ทัศนาและหม่อมบุญเทียม เข้าเรียนชั้นประถมศึกษาที่โรงเรียนแสงวิทยา
มัธยมศึกษาที่โรงเรียนพันธุ์พิศวิทยา โรงเรียนพระนครวิทยาลัย ระดับเตรียมอุดมที่โรงเรียนพระนครวิทยาลัย เข้าศึกษาที่คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาฯ สาขาชีววิทยา
เข้ารับราชการครั้งแรกแผนกชีววิทยา จุฬาฯ ต่อมาได้รับการศึกษาต่อต่างประเทศระดับปริญญาโทด้านสัตววิทยา มหาวิทยาลัยดคโรราโดและทุนโซโลมอน บี คอล์กเกอร์
ในระดับปริญญาเอก สาขาสรีรวิทยาการสืบพันธุ์ จากสถาบันวิทยาศาสตร์ไวซ์มัน อิสราเอล
[แก้ไข] ผลงานวิจัย
 
ในปี พ.ศ. 2527 ได้รับการคัดเลือกจากสมาคมวิทยาศาสตร์แห่งประเทศไทยให้เป็นนักวิทยาศาสตร์ดีเด่น สาขาชีววิทยา ผลงานเด่น ๆ หลายชิ้น เช่น
ประสบผลสำเร็จในการเลี้ยงและการแพร่พันธุ์หนูขาวพันธุ์วิสตาร์บริสุทธิ์ ซึ่งใช้ในการศึกษา และประสบผลสำเร็จในการสร้างกลุ่มสัตว์ทดลองโกลเด้นแฮมสเตอร์
ริเริ่มสร้างลิงแสมซึ่งเป็นรูปแบบสัตว์ทดลองที่ใกล้เคียงมนุษย์มาก ซึ่งสามารถผสมพันธุ์ได้จนเพียงพอกับการวิจัย เพราะความมุ่งมั่นพัฒนาการวิจัยอย่างต่อเนื่อง
อาจารย์จึงได้รับการยกย่องว่าเป็นผู้ริเริ่มบุกเบิกให้มีการศึกษาวิจัยด้านสรีรวิทยาการสืบพันธุ์เป็นคนแรกของไทย
** หม่อมราชวงค์กนกทัณฑ์ วรวุฒิ
* หม่อมเจ้าพิทยากรพันธ์ วรวุฒิ (พ.ศ. ๒๔๔๐ - พ.ศ. ๒๕๓๓) เสกสมรสกับหม่อมหลวงเนื่อง กุญชร โอรส - ธิดา ๓ คน คือ