ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ทะเลสาบแทนกันยีกา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Luckas-bot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.7.1) (โรบอต เพิ่ม: ku:Gola Tanganyîka
Torpido (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
[[ไฟล์File:Fisherman on Lake tanganyikaTanganyika.jpg|ชาว[[ประมง]]พื้นบ้านของทะเลสาบแทนกันยีกา|250px|thumb|right]]
{{ต้องการอ้างอิง}}
'''ทะเลสาบแทนกันยีกา''' ({{lang-en|Lake Tanganyika}}) เป็น[[ทะเลสาบน้ำจืด]]ขนาดใหญ่ที่ตั้งอยู่ในแขตรอยต่อเขตรอยต่อ 4 ประเทศด้วยกัน ได้แก่ [[สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก]] (ซาอีร์เดิม), [[แทนซาเนีย]], [[แซมเบีย]] และ[[บุรุนดี]] มีเนื้อที่ 32,900 ตารางกิโลเมตร เป็นแหล่งน้ำจืดที่สำคัญเป็นอันดับที่สองในแอฟริการองจาก[[ทะเลสาบวิกตอเรีย]] นอกจากนั้นยังเป็นทะเลสาบที่ใหญ่เป็นอันดับสองในทวีปแอฟริกาและลึกที่สุดใน[[ทวีปแอฟริกา]]อีกด้วย จุดที่มีความลึกที่สุดลึกกว่า 1,470 เมตร ทะเลสาบแทนกันยีกาเกิดจากการทรุดตัวของแผ่นเปลือกโลกและ[[ภูเขาไฟระเบิด]] เมื่อราว 20 ล้านปีมาแล้ว นับเป็น[[ทะเลสาบ]]แห่งหนึ่งที่มีอายุเก่าแก่ในทวีปแอฟริกา ซึ่งตั้งอยู่ในแนว[[เกรตริฟต์แวลลีย์]]
[[ไฟล์:Lake tanganyika.jpg|ทะเลสาบแทนกันยีกา|250px|thumb|right]]
 
'''ทะเลสาบแทนกันยีกา''' ({{lang-en|Lake Tanganyika}}) เป็น[[ทะเลสาบน้ำจืด]]ที่ตั้งอยู่ในแขตรอยต่อ 4 ประเทศด้วยกัน ได้แก่ [[สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก]] (ซาอีร์เดิม) [[แทนซาเนีย]] [[แซมเบีย]] และ[[บุรุนดี]] มีเนื้อที่ 32,900 ตารางกิโลเมตร เป็นแหล่งน้ำจืดที่สำคัญเป็นอันดับที่สองในแอฟริการองจาก[[ทะเลสาบวิกตอเรีย]] นอกจากนั้นยังเป็นทะเลสาบที่ใหญ่เป็นอันดับสองในทวีปแอฟริกาและลึกที่สุดใน[[ทวีปแอฟริกา]]อีกด้วย จุดที่มีความลึกที่สุดลึกกว่า 1,470 เมตร ทะเลสาบแทนกันยีกาเกิดจากการทรุดตัวของแผ่นเปลือกโลก ซึ่งตั้งอยู่ในแนว[[เกรตริฟต์แวลลีย์]]
โดยคำว่า "แทนกันยีกา" นั้นมาจาก[[ภาษาสวาฮิลี]]สองคำ คือ "tangan" หมายถึง "[[เรือใบ]]" และ "nyika" หมายถึง "[[ป่า]]" หรือ "ไม่มีที่อยู่" โดยรวมอาจหมายความว่า "เรือใบที่แล่นในถิ่นทุรกันดาน" ก็ได้
 
ทะเลสาบแทนกันยีกา มีความยาวจัดจากเหนือจรดใต้ได้ถึง 673 [[กิโลเมตร]] แต่มี[[ความกว้าง]]โดยเฉลี่ยประมาณ 50 กิโลเมตร มีพื้นที่โดยรวมประมาณ 3,2892 [[ตารางกิโลเมตร]] ความยาวรอบ[[ชายฝั่ง]]วัดรวมกันได้ 1,828 กิโลเมตร และยังเป็นทะเลสาบน้ำจืดที่มี[[ความลึก]]เป็นอันดับสองของโลกรองจาก[[ทะเลสาบไบคาล]] ใน[[ไซบีเรีย]] มีดินแดนติดกับคองโกราว[[ร้อยละ]] 45 และติดกับแทนซาเนียร้อยละ 41 โดยประมาณ
 
[[น้ำ]]ในทะเลสาบไหลสู่[[แม่น้ำคองโก]]ใน[[แอฟริกากลาง|ตอนกลาง]]ของทวีป และจะไหลไปลง[[ทะเล]]ที่ตอน[[แอฟริกาตะวันตก]]ที่[[มหาสมุทรแอตแลนติก]]
 
ทะเลสาบแห่งนี้มีความโดดเด่นเรื่องของ[[อุณหภูมิ]]ที่ค่อนข้างเสถียร เรื่องจากข้างล่างทะเลสาบยังคงมี[[ภูเขาไฟ]] น้ำมีการเปลี่ยนแปลงในแนวตั้งน้อยมาก ในความลึกเกิน 300 เมตร ปริมาณ[[ออกซิเจน]]ที่ละลายในน้ำค่อนข้างน้อย จึงมักไม่ค่อยมี[[สิ่งมีชีวิต]]อาศัยอยู่ อุณหภูมิโดยเฉลี่ยมีความเปลี่ยนแปลงต่างกันไม่เกิน 5 [[ฟาเรนไฮต์]] โดยบริเวณผิวน้ำจะมีอุณหภูมิประมาณ 73-88 ฟาเรนไฮต์ [[pH|ค่าความเป็นกรด-ด่างของน้ำ]]อยู่ที่ประมาณ 7.5-9.3 (pH)
 
ระบบนิเวศของทะเลสาบแทนกันยีกา แบ่งออกได้เป็นสองส่วนหลัก คือ ระบบชายฝั่งและพื้นที่นอกชายฝั่ง ซึ่งสามารถแบ่งระบบนิเวศตามสภาพแวดล้อมที่ต่างกันได้ ดังนี้
 
#บริเวณน้ำลึกเกินสามฟุตนอกชายฝั่ง บริเวณนี้มักมี[[คลื่น]]ส่งให้มีการเปลี่ยนแปลงของน้ำอย่างรวดเร็ว ปริมาณออกซิเจนที่ละลายในน้ำค่อนข้างสูง ปริมาณ[[คาร์บอนไดออกไซด์]]ต่ำ
#บริเวณแนวหินตามชายฝั่ง เป็นพื้นที่ลาดชันประกอบไปด้วยตะกอน[[หิน]]ที่มีขนาดแตกต่างกัน เป็นระบบนิเวศที่มี[[แสงแดด]]ส่องถึงพื้น ทำให้เกิด[[สาหร่าย]] และ[[พืช]]ประเภทต่าง ๆ
#แนวหินบริเวณน้ำตื้น อยู่ในความลึกประมาณ 20 [[ฟุต]] สภาพแวดล้อมส่วนมากเป็น[[ทราย]] กรวดหิน และก้อนหิน เป็นแหล่งที่มี[[อาหาร]]ตามธรรมชาติมากที่สุด สำหรับสิ่งมีชีวิตในทะเลสาบใช้หากิน
#บริเวณหน้าดิน เป็นบริเวณที่มีความลึกระหว่าง 165-500 ฟุต ยังคงมีออกซิเจนละลายอยู่ มีสิ่งมีชีวิตจำพวก[[แพลงก์ตอน]]และ[[กุ้ง]]อาศัยอยู่
#บริเวณพื้นทราย เป็นพื้นที่ที่มีการชะล้างพังทะลายมาเป็นเวลานับล้าน ๆ ปี ส่งผลให้ชั้นตะกอนที่อยู่ด้านล่างของทะเลสาบนั้นหนาเป็นกิโลเมตร สภาพพื้นเป็นทรายปะปนด้วยหิน
#บริเวณพื้น[[โคลน]] เป็นบริเวณที่มีซากของสิ่งมีชีวิตตายทับถมกัน มี[[แบคทีเรีย]]ที่ให้อาหารสำหรับแพลงก์ตอนสัตว์อาศัยอยู่<ref>หน้า 46-48 คอลัมน์ Cichild Conner ตอน ดำดิ่งสู่ Lake Tanganyika โดย ปลาบ้านโรม นิตยสาร Aquarium Biz ฉบับเดือน[[สิงหาคม]] [[ค.ศ. 2001|2011]]</ref>
 
นอกจากนี้แล้วทะเลสาบแทนกันยีกา ยังเป็นขึ้นชื่อและรู้จักดีว่าเป็นแหล่งกำเนิดของปลาในตระกูล[[ปลาหมอสี]] (Cichlidae) หลากหลายชนิด ซึ่งใช้เป็นทั้ง[[ปลาเศรษฐกิจ]]ในท้องถิ่น และเป็นแหล่งส่งออก[[ปลาสวยงาม]]ในระดับโลก อาทิ [[ปลาหมอฟรอนโตซ่า]] (''Cyphotilapia frontosa''), ปลาหมอสีใน[[สกุล]] ''[[Cyprichromis]]'', สกุล ''[[Tropheus]]'' เป็นต้น
 
==ดูเพิ่ม==
*[[ทะเลสาบมาลาวี]]
{{commons|Category:Lake Tanganyika}}
==อ้างอิง==
{{ต้องการรายการอ้างอิง}}
 
{{โครงภูมิศาสตร์}}
 
[[หมวดหมู่:ทะเลสาบในทวีปแอฟริกา|ทแทนกันยีกา]]