ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เรลิก"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขของ 58.64.58.145 (พูดคุย) ไปยังรุ่นก่อนหน้าโดย Ripchip Bot
ใช้ทับศัพท์
บรรทัด 1:
{{ลิงก์ไปภาษาอื่น}}
[[ไฟล์:Relics of Saint Demetrius.jpg|thumb|240px|วัตถุมงคลเรลิกของนักบุญดีมิเทรียส (St. Demetrius) ที่[[มหาวิหาร]] Thessalonika, [[ประเทศกรีซ]]]]
[[ไฟล์:10.2006 Brazos relicario.jpg|thumb|240px|วัตถุมงคลทีวัดเรลิกที่โบสถ์ซานเปโคร (San Pedro) ที่อเยอร์เบ (Ayerbe) [[ประเทศสเปน]] ]]
[[ไฟล์:Strdubmainaltar.jpg|thumbnail|240px|แท่นบูชาเอกในมหาวิหารเซนต์ราฟาเอล ที่ดบูค (Dubuque) [[มลรัฐไอโอวา]] ซึ่งมีวัตถุมงคลเรลิกของนักบุญเซสเซียนัส (St Cessianus) ซึ่งเป็นเด็กอายุ 8 ขวบที่ถูกสั่งให้ฆ่าโดย[[จักรพรรดิไดโอคลีเชียน]]]]
[[ไฟล์:Francisco de Zurbarán 011.jpg|thumb|240px|ภาพเขียนของผ้าซับพระพักตร์ของ[[พระเยซู]] โดย [[ฟรานซิสโก เดอ เซอบาราน]]]]
[[ไฟล์:Reliekschrijnbinnen.jpg|thumb|240px|ภายในวิหารเซนต์บอนิเฟส (Saint Boniface) ที่วัดวาโบสถ์วาฟฮุยเซน (Warfhuizen) [[ประเทศเนเธอร์แลนด์]] กระดูกชิ้นกลางเป็นของนักบุญบอนิเฟส ห่อกระดาษทางซ้ายและขวาเป็นเศษกระดูกของนักบุญเบนเนดิคแห่งเนอร์เซีย [[เบเนดิกต์แห่งเนอร์เซีย]]และนักบุญเบอร์นาร์ดแห่งแคลโว[[แบร์นาร์แห่งแกลร์โว]]]]
[[ไฟล์:Abgarwithimageofedessa10thcentury.jpg|right|240px|พระเจ้าอับการุส (King Abgarus) ทรงรับ Image of Edessa]]
[[ไฟล์:StPetersChains20020315.jpg|thumb|240px|“บัลลังก์นักบุญปีเตอร์” ที่ซานเปียโตรอินวินโคลี (San Pietro in Vincoli) ที่ [[โรม]] จัดเป็นวัตถุมงคลอันดับสองเรลิกชั้นสอง]]
 
'''เรลิก''' ({{lang-en|relic}}) คือชิ้นส่วนร่างกายของ[[นักบุญ]]หรือบุคคลที่เป็นที่นับถือ หรือศาสนวัตถุโบราณอื่นๆ ที่มีการเก็บรักษาไว้ให้ศาสนิกชนได้บูชา หรือเป็นเครื่องระลึกถึง ความเชื่อเกี่ยวกับเรลิกมีความสำคัญในหลายศาสนา เช่น ศาสนาพุทธ ศาสนาคริสต์ ศาสนาฮินดู ลัทธิ[[ชาแมน]] ฯลฯ
'''วัตถุมงคล''' หรือ '''วัตถุศักดิ์สิทธิ์''' ใน[[ศาสนาคริสต์]] ({{lang-en|relic}}) เป็นวัตถุมีค่าทางจิตใจซึ่งมาจากส่วนหนึ่งของร่างกายหรือสิ่งของ ที่เป็นของบุคคลสำคัญทางคริสต์ศาสนาถูกเก็บรักษาไว้อย่างดีเพื่อระลึกถึงบุคคลนั้น
 
คำว่า '''relic''' มาจาก [[ภาษาละติน]] “reliquiae” แปลว่าสิ่งที่หลงเหลืออยู่ และคำว่า “reliquary” หมายถึงที่เก็บรักษาวัตถุมงคลเรลิกซึ่งอาจเป็นหีบหรือตู้ หรือสถานที่เช่น[[มหาวิหาร]] หรือ วัด
 
== ประวัติวัตถุมงคลทางเรลิกในคริสต์ศาสนา ==
หลักฐานแรกที่กล่าวถึงวัตถุมงคลปรากฏเรลิกปรากฏใน “[[คัมภีร์ไบเบิลฉบับคิงเจมส์]]” ([[:en:Authorized King James Version|King James' Bible]]) <ref>[http://www.biblegateway.com/passage/?search=2+kings%2013:20-13:21&version=9 2 Kings 13:20-21 (King James Version)]</ref> กล่าวถึงวัตถุมงคลเรลิกและปาฏิหาริย์ว่า
 
::“เอลิชา (Elisha) ตายและถูกฝัง ปัจจุบันมีโจรเข้ามาทุกฤดูใบไม้ผลิ ครั้งหนึ่งขณะที่ชาว[[ยิว]]กำลังฝังศพอยู่ เห็นโจรกลุ่มหนึ่ง ชาว[[ยิว]]จึงจับโจรโยนลงไปในที่ฝังศพของเอลิชา เมื่อร่างของโจรถูกกระดูกของเอลิชา โจรฟื้นชึวิตขึ้นมาและยืนบนขาของตัวเอง” ''([[:en:New International Version|New International Version (คัมภีร์สากลฉบับใหม่ )]])''
 
เอกสารอีกฉบับหนึ่งที่เขียนไว้ใน “การพลีชีพเป็นมรณสักขีของโพลิคาร์พ”ป” (Martyrdom of Polycarp) เมื่อระหว่างปี [[ค.ศ. 150]] ถึงปี [[ค.ศ. 160]] กล่าวถึงวัตถุมงคลเรลิกของนักบุญโพลิคาร์ (Polycarp) ตามเอกสาร [[กิจการของอัครสาวกอัครทูต ]] 19:11-12 กล่าวถึงผ้าเช็ดหน้าของนักบุญโพลิคาร์พว่า ได้รับอำนาจจาก[[พระเยโฮวาห์|พระเป็นเจ้า]]ทำให้สามารถรักษาโรคภัยไข้เจ็บได้
 
ตำนานปาฏิหาริย์เกื่ยวกับวัตถุมงคลเรลิกเริ่มมีกันมาตั้งแต่เริ่มมีมาตั้งแต่ยุคต้นของคริสต์ศาสนา แล้วนิยมแพร่หลายกันมากใน[[ยุคกลาง|สมัยยุคกลาง]] มีการรวบรวมเป็นหนังสือแบบที่เรียกว่า “[[วรรณกรรมวิทยานักบุญ]]” เช่น “[[ตำนานทอง]]” หรืองานเขียนโดย ซีซาร์แห่งไฮสเตอร์บาค (Caesar of Heisterbach) หนังสีอเหล่านี้เป็นที่นิยมและเสาะหากันมากในสมัยยุคกลาง
 
วัตถุมงคลที่เกี่ยวกับเรลิกของพระเยซูมีมากหลายอย่าง โดยชิ้นที่มีชื่อเสียงรู้จักกันแพร่หลายมาก เช่น
::* '''[[ผ้าห่อพระศพแห่งตูริน]]''' (Shroud of Turin) เชื่อกันว่าเป็นผ้าที่ใช้ห่อพระศพของพระเยซูเมื่อนำร่างลงมาจากกางเขน แต่เป็นที่ถกเถียงกันมาก เก็บรักษาที่ [[มหาวิหารเซนต์จอห์นแบพทิสต์]] เมืองตูริน [[ประเทศอิตาลี]]
::* '''[[สัตยกางเขนกางเขนจริง]]''' (True Cross) เชื่อกันว่าเป็นชิ้นไม้จากไม้กางเขนที่พระเยซูถูกตรึง ชิ้นไม้นี้เป็นที่เสาะหากันมากและมีการทำปลอมมากจน [[จอห์น คาลวิน]] (John Calvin) กล่าวเยาะว่าชิ้นไม้จากไม้กางเขนที่มีกันอยู่สมัยนั้นสามารถเอาไปสร้างเรือได้ทั้งลำ <ref>Calvin, ''Traité Des Reliques''</ref> อย่างไรก็ตาม เมื่อเอาชิ้นไม้จากไม้กางเขนศักดิ์สิทธิ์ทั้งหมดที่มีอยู่ขณะนั้นมารวมกัน หนักเพียง 1.7 กิโลกรัม มีเนี้อที่ 0.04 ตารางเมตรเท่านั้น ถึงกระนั้น บางชิ้นเมื่อวิเคราะห์ทางวิทยาศาสตร์แล้ว กลับพบว่ามาจาก [[ค.ศ. 1870]] <ref>de Fleury, "บันทึกอุปกรณ์ตรึงกางเขน" (''Mémoire sur les instruments de la Passion'')</ref>
 
== ความหมายของวัตถุมงคลเรลิกในวัฒนธรรมโรมาโนคริสเตียน ==
ในคำนำประวัติของนักบุญเกรกอเกรกอรีแห่งทัวร์ตูร์ (Gregory of Tours) เออร์เนส เบรอโอท (Ernest Brehaut) วิจัยมโนทัศน์ ของโรมาโน-คริสเตียน (Romano-Christian) ซึ่งเน้นความสำคัญของวัตถุมงคลเรลิก เบรอโอทวิจัยคำสองคำที่นักบูญเกรกอรีใช้เสมอ คือคำว่า “sanctus” และ “virtus” คำแรกหมายถึง “ศักดิ์สิทธิ์” และคำที่สองให้คำธิบายว่าเป็น
<ref>http://charlemagne.celtic-twilight.com/gregory_of_tours/pagexix.htm เออร์เนส เบรอโอท</ref>
<blockquote>
บรรทัด 34:
ตรงกันข้ามกับคำว่า "virtus" คืออำนาจลึกลับที่มาจาก “สิ่งชั่วร้าย” (daemons) ที่ไม่ถูกต้อง ซึ่งถือกันว่าเป็นสิ่งที่เป็นปฏิปักษ์โดยตรงต่อ “virtus” สิ่งต่างๆเหล่านี้สามารถถูกทำลายได้โดย “virtus” ได้ คำว่า “virtue” นี้นักบูญเกรกอรีและนักเขียนคนอื่นกล่าวว่ามีความเกี่ยวข้องกับ ผึ ปีศาจ นักมายากล และผู้นอกศาสนา “virtus” ที่ผิดนั้นเห็นได้จากรูป หรือรูปปั้นของสิ่งต่างๆ ที่เป็นที่นับถือของชนนอกศาสนาคริสต์ บางครั้งเราจึงเห็นรูปปั้นเหล่านี้ถูกทำลายโดยคริสต์ศาสนิกชนในบางสมัย
 
เนื่องจากความเชื่อกันว่าสิ่งศักดิ์สิทธิ์เหล่านี้มีอำนาจในการป้องกันสิ่งชั่วร้าย วัตถุมงคลเรลิกจึงยังมีความนิยมและความสำคัญทางคริสต์ศาสนา ความศักดิ์สิทธิ์อันนี้อาจครอบคลุมไปถึงบริเวณที่มีวัตถุมงคลตั้งอยู่เช่นตัวเมือง เมื่อนักบุญ[[นักบุญมาร์ตินแห่งทัวร์]]เสียชีวิตเมื่อ [[8 พฤศจิกายน]] [[ค.ศ. 397]] หมู่บ้านระหว่างเมืองทัวร์ไปจนถึงปอยเตียร์ (Poitiers)[[ปัวตีเย]] ต่างหวังได้ร่างของท่านมาเป็นสมบัติแต่เมืองทัวร์เป็นผู้ได้ไป บางครั้งความที่อยากเป็นเจ้าของทำให้มีการโขมยกันเช่นร่างของนักบุญนิโคลัสแห่งไมรา (St Nicholas of Myra) ตำนานหนึ่งว่ากลาสีจากอิตาลีไปเอามาจากพระออร์ธอด็อกซ์[[บาทหลวง]][[ออร์ทอดอกซ์]]ที่อาร์มีเนียหลังศึกแมนซิเคิท (Battle of Manzikert) เมื่อคริสต์ศตวรรษที่ 11 อีกตำนานหนึ่งกล่าวว่าวัตถุมงคลของท่านเกือบทั้งหมดถูกนำไปไว้ที่เมือง[[เวนิส]] หรือความชื่อที่ว่าวัตถุมงคลเรลิกที่เรียกว่า “รูปเอเดสสา” (Image of Edessa) ซึ่งเป็นผืนผ้าที่มีรูปพระพักตร์ของพระเยซู สามารถปกป้องเมืองไม่ให้ศัตรูเข้าเมืองได้
 
== การจัดระดับและการประกาศห้ามมีวัตถุมงคลในนิกายโรมันคาทอลิก ==
คริสตศาสนิกชนคาทอลิกเรียกเรลิกว่า พระธาตุ<ref>[http://www.catholic.or.th/spiritual/article/article051/arti048.html บทความ:เกร้ดความรู้เกี่ยวกับพระธาตุของนักบุญ], [[เขตมิสซังกรุงเทพฯ]]</ref> และแบ่งเรลิกเป็นสามชั้น
วัตถุมงคลแบ่งเป็นสามระดับ
 
* '''วัตถุมงคลอันดับหนึ่งเรลิกชั้นหนึ่ง''' คือ วัตถุที่มีส่วนเกี่ยวข้องโดยตรงกับชีวิตของพระเยซู (รางหญ้า, กางเขน, อื่นๆ) หรือ ชิ้นส่วนจากร่างของนักบุญ (กระดูก, ผม, แขน, อื่นๆ)
 
ตามธรรมดาแล้ววัตถุมงคลจากนักบุญที่พลีชีพมีค่ากว่านักบุญที่มิได้พลีชีพ และส่วนของร่างกายแต่ละส่วนมีค่ามากน้อยต่างกัน เช่น แขนขวาของนักบุญสตีเฟนแห่งฮังการี (King St. Stephen of Hungary) มีความสำคัญมากกว่าส่วนอื่นของร่างกายเพราะเป็นสัญลักษณ์ของฐานะการปกครองของพระองค์ หัวของนักศาสนวิทยามีค่ามากที่สุดในบรรดาร่างกายส่วนอื่น เช่น หัวของนักบูญทอมัสอควินาถูกแยกจากร่างโดยพระที่สำนักสงฆ์ที่ฟอสซาโนวาเมื่อท่านสิ้นชีวิต หรือถ้านักบุญเดินทางบ่อยกระดูกเท้าอาจสำคัญ (ตามกฏสถาบันคาทอลิกในปัจจุบันห้ามแบ่งวัตถุมงคลที่ใช้ในคริสต์ศาสนพิธีจนไม่สามารถบอกได้ว่าเป็นส่วนใดของร่างกาย)
 
* '''วัตถุมงคลอันดับสองเรลิกชั้นสอง''' คือ วัตถุที่นักบุญสวมใส่ (เช่นถุงเท้า ถุงมือ หรือ เสื้อ) รวมทั้งสิ่งที่เป็นของนักบุญหรือสิ่งที่นักบุญใช้บ่อย เช่นกางเขน หรือ หนังสือ สิ่งที่สำคัญเป็นพิเศษต่อนักบุญมีค่ามากกว่าสิ่งอื่น
 
* '''วัตถุมงคลอันดับสามเรลิกชั้นสาม''' คือ วัตถุที่แตะต้องวัตถุมงคลอันดับเคยสัมผัสเรลิกชั้นหนึ่งและสองมาแล้ว
 
อย่างไรก็ตาม มีประกาศห้ามซื้อขายหรือเคลื่อนย้าย ตามกฎหมาย[[คริสต์ศาสนกฏบัตรประมวลกฎหมายพระศาสนจักร]] (Canon Law) ระบุไว้ว่า <ref>[http://www.vatican.va/archive/ENG1104/__P4D.HTM The ''Code of Canon Law'']</ref>
<blockquote>
§1190 §1 - ห้ามการซื้อขายวัตถุมงคลเรลิกศักดิ์สิทธิ์โดยเด็ดขาด
</blockquote>
<blockquote>
§1190 §2 - ห้ามย้ายวัตถุมงคลเรลิกที่มีความสำคัญและวัตถุมงคลอื่นๆที่เป็นที่สักการะโดยมิได้มีการอนุญาตจากสังฆมณฑล[[เขตมิสซัง]]
</blockquote>
 
== ความสำคัญของวัตถุมงคลเรลิกในคริสต์ศาสนา ในยุคกลาง ==
ตั้งแต่เริ่มแรกวัตถุมงคลเรลิกใช้เป็นสิ่งเพิ่มความใกล้ชิดระหว่างผู้มีความศรัทธาและความสำคัญกับพระเจ้า คริสต์ศาสนิกชนในยุคกลางมักเดินทางไปแสวงบุญตามสถานที่ที่เป็นของนักบวชศักดิ์สิทธิ์ ทำให้วัตถุมงคลกลายเรลิกกลายเป็นธุรกิจใหญ่ นักแสวงบุญแสวงหาวัตถุมงคลเรลิกเพื่อนำกลับไปไว้ที่บ้านเพื่อการสักการะ เพราะในสมัยนั้นการอยู่ใกล้ชิดสิ่งที่เกี่ยวข้องกับบุคคลสำคัญทางศาสนาเป็นสิ่งสำคัญ (Brown, 89) ตามที่บรรยายไว้โดย อันเดร วอเชส์ (Andre Vauchez) ปลายสมัยยุคกลางว่า “[ชนสามัญ] ชอบมีนักบุญใกล้ชิดกับตัวเองตลอดเวลา” (Vauchez, 139) เมื่อซื้อหามาแล้วนักแสวงบุญสามารถสักการะบูชาได้ตลอดเวลาโดยไม่ต้องเดินทางไกลหรือเบียดกับใคร
 
== แนวคิดต่อวัตถุมงคลเรลิกในคริสต์ศาสนา ==
แนวคิดแนวปฏิบัติเกี่ยวกับ วัตถุมงคลในคริสต์ศาสนา เรลิกไม่ใช่ รูปเคารพ วัตถุบูชามงคล หรือ[[เครื่องราง]] ซึ่งต่างจากแนวคิดในศาสนาอื่น
ชาวคริสต์ ไม่สร้างวัตถุมงคลขึ้นบูชาเอง (ไม่นับการทำเลียนแบบเพื่อหลอกลวง) และการกระทำต่อวัตถุมงคลที่หามาได้ ไม่บูชาสักการะ ไม่ทำพิธี และไม่ทำความเคารพ ต่อวัตถุมงคล บางยุคสมัยที่ผู้คนแสวงหาเป็นเครื่องรางอย่างกว้างขวาง และบางสมัยถูกห้ามอย่างจริงจัง
 
<!-- ''ชาวคริสต์ที่เคร่งครัด ไม่เชื่อว่าวัตถุมงคลเรลิกสามารถช่วยเหลือประการใดได้ ไม่ว่าวัตถุมงคลเรลิกสามารถแสดงปาฏิหารย์หรือไม่ เพราะคำสอนให้ยึดมั่นต่อพระเจ้าเท่านั้น
อย่างไรก็ตาม'' ดึงออกเพราะเป็นความเห็นส่วนบุคคล วิกิพยายามเสนอข้อเท็จจริงมิใช่ความเห็น -->
ประเด็นการห้ามสร้างหรือเคารพวัตถุมงคล รูปเคารพปรากฏหลายครั้งใน[[คัมภีร์ไบเบิล|พระคริสตธรรมคัมภีร์]] ทั้งจาก[[พันธสัญญาเดิม]]และ[[พันธสัญญาใหม่]] เช่น <ref>[[พระธรรมอิสยาห์]] 44: 9-20</ref>
<blockquote>
" บรรดาผู้ที่เคารพก็เป็นศูนย์ และสิ่งที่เขาปีติยินดีนั้นก็ไม่เป็นประโยชน์ พยานของเขานั้นทั้งไม่เห็นและไม่รู้ เพื่อเขาจะต้องอับอาย ใครเล่าแต่งพระหรือหล่อรูปเคารพซึ่งไม่เป็นประโยชน์เลย
บรรทัด 83:
</blockquote>
 
แต่[[นักบุญเจอโรม ]]ค้านว่า <ref>Ad Riparium, i, P.L., XXII, 907</ref>
<blockquote>
“เราไม่บูชา, เราไม่ชื่นชม, เพราะเรากลัวว่าต้องน้อมตัวต่อสิ่งอื่นที่ไม่ใช้พระผู้สร้าง, แต่เราบูชาวัตถุมงคลเรลิกจากผู้พลีชีพเพื่อศาสนาเพื่อให้เราชี่นชมในตัวท่านที่เสียสละ”
</blockquote>
 
== วัตถุมงคลเรลิกในงานวรรณกรรม ==
*''The Relic'' by Eca De Queiros, Dedalus Ltd, UK 1994. ISBN 0-94662-694-4
*''The Translation of Father Torturo'' by Brendan Connell, Prime Books, 2005. ISBN 0-80950-043-4
บรรทัด 96:
 
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
* ''Relics'', by [[:en:Joan Carroll Cruz|Joan Carroll Cruz]], [[:en:OCDS|OCDS]], Our Sunday Visitor, Inc, 1984. ISBN 0-87973-701-8
* ''Reliques et sainteté dans l'espace médiéval'' [http://perso.orange.fr/pecia/Revue%208-11%20bis.htm]
* Brown, Peter; Cult of the Saints: Its Rise and Function in Latin Christianity; University of Chicago Press; 1982
* Vauchez, Andre; Sainthood in the Later Middle Ages; Cambridge University Press; 1997
 
 
== ดูเพิ่ม ==
บรรทัด 110:
 
== แหล่งข้อมูลอื่น==
{{wiktionary|relic|วัตถุมงคลเรลิก}}
{{commonscat|Category:Relics|วัตถุมงคลเรลิก}}
* [http://www.newadvent.org/cathen/12734a.htm วัตถุมงคล โดยเรลิกโดย Catholic Encyclopedia]
* [http://www.catholic.com/library/Relics.asp วัตถุมงคล โดยเรลิกโดย catholic.com]
* [http://www.shrinesf.org/relics.htm วัตถุมงคลของลัทธิฟรานซิสกันเรลิกของคณะฟรันซิสกัน โดย National Shrine of St Francis of Assisi]
* [http://catholiceducation.org/articles/religion/re0646.html Keeping Relics in Perspective]
* [http://www.cts.org.au/2000/aplaceforrelics.htm A Place for Relics (ที่สำหรับวัตถุมงคลเรลิก)]
* [http://www.newadvent.org/summa/402506.htm The veneration of the relics of saints (การสักการะวัตถุมงคลเรลิก) ตาม Summa Theologiae]
* Book:''Reliques et sainteté dans l'espace médiéval''
 
== ระเบียงภาพ ==
<gallery perrow="5">
ภาพ:SantoCaliz.jpg|จอกศักดิ์สิทธิ์ (Santo Caliz หรือ Holy Chalice, Holy Grail) ที่วาเล็นบาเลนเซีย ประเทศสเปน
ภาพ:Heilige Lanze 02.JPG|หอกศักดิ์สิทธิ์ ที่ประเทศออสเตรีย
ภาพ:Braunschweig Brunswick Armreliquiar St. Blasius Rueckseite.jpg|แขนของนักบุญเบลส (St. Blaise) ที่บรันสวิค ประเทศเยอรมนี
ภาพ:Braco-de-sangiusto.jpg|แขนของนักบุญจัสโต (St. Justo) ที่ Museo dell'Opera del Duomo เมืองฟลอเรนซ์
ภาพ:Lucca.San Frediano17.JPG|ร่างของนักบุญซิตา (St. Zita) ที่วัดโบสถ์ซานเฟรดิอาโน เมืองลุคคา (Lucca) ประเทศอิตาลี
ภาพ:6220 - Milano - Sant'Eustorgio - Museo - Foto Giovanni Dall'Orto 1-Mar-2007.jpg|นิ้วหัวแม่มือขวาของนักบุญทอมัสอควินา[[โทมัส อควีนาส]] ที่พิพิธภัณฑ์ที่วัดโบสถ์ Sant'Eustorgio เมืองมิลาน ประเทศอิตาลี
ภาพ:5-Reliquienschrein in der Basilika-k.jpg|ตู้เก็บวัตถุมงคลเรลิก
ภาพ:Head reliquary Martin Louvre OA6459.jpg|หัวศีรษะนักบุญมาร์ติน ที่คอร์เรซ (Corrèze) ประเทศฝรั่งเศส
ภาพ:Reliquary Thomas Becket MNMA Cl23296.jpg|วัตถุมงคลเรลิกนักบุญทอมัส เบ็คเค็ท (Thomas Becket) เมืองพาเลนเซีย (Palencia) ประเทศสเปน
ภาพ:Reliquary-box crucifixion Louvre MR349.jpg|กล่องเก็บวัตถุมงคลเรลิก ประเทศฝรั่งเศส
</gallery>
 
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/เรลิก"