ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โขน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Saerin (คุย | ส่วนร่วม)
Saerin (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 140:
ในการแสดงโขน เมื่อเริ่มแสดงวงปี่พาทย์จะบรรเลง[[เพลงโหมโรง]]เป็นเพลงเปิด เมื่อจบเพลงจึงจะเริ่มการแสดง ดำเนินเรื่องโดยใช้คำพากย์และคำเจรจาเป็นหลัก การเล่นโขนแต่เดิมไม่มีบทร้องของผู้แสดงเหมือนละครใน ผู้แสดงทุกคนในสมัยโบราณต้องสวมหัวโขน ยกเว้น[[ตลก|ตัวตลก]]ที่ใช้ใบหน้าจริงในการแสดง ทำให้ต้องมีผู้ทำหน้าที่สำหรับพากย์และเจรจาถ้อยคำต่าง ๆ แทนตัวผู้แสดง ผู้พากย์เสียงนั้นมีความสำคัญในการแสดงโขนเป็นอย่างมาก ต้องเรียนรู้และศึกษาทำความเข้าใจเรื่องราวและวิธีการแสดง จดจำคำพากย์และใช้ปฏิภาณไหวพริบในเชิง[[กาพย์]] [[กลอน]] เพื่อสามารถเจรจาให้สอดคล้องถูกต้อง มี[[สัมผัสนอก]] [[สัมผัสใน]]คล้องจองกับการแสดงของผู้แสดง
 
ลักษณะบทโขนในสมัยโบราณ แบ่งออกเป็น 3 ประเภทคือ
ลักษณะบทโขนในสมัยโบราณ แบ่งออกเป็น 3 ประเภทคือ บทร้อง บทพากย์และบทเจรจา ซึ่งบทร้องนั้นเป็นการร้องกลอนบทละคร ใช้สำหรับแสดงโขนโรงในและโขนฉากเท่านั้น บทพากย์ใช้กาพย์ยานีและกาพย์ฉบัง เมื่อพากย์จบหนึ่งบท ปี่พาทย์จะตีตะโพนท้าและตี[[กลองทัด]]ต่อจากตะโพนสองที ผู้แสดงภายในโรงจะร้องรับว่า "เพ้ย" พร้อม ๆ กัน ซึ่งคำว่าเพ้ยนี่ สันนิษฐานว่าแต่เดิมนั้น มาจากคำว่า "เฮ้ย" ในการบัญชาศึกสงครามของแม่ทัพนายกอง ค่อย ๆ เพี้ยนเสียงจนกลายเป็นคำว่าเพ้ยในปัจจุบัน<ref name="คนพากย์ เจรจา ต้นเสียง ลูกคู่">คนพากย์ เจรจา ต้นเสียง ลูกคู่, โขน, ธนิต อยู่โพธิ์, องค์การค้าของคุรุสภา, 2538, หน้า 169, เลขหมู่หนังสือ 793. 3209593, ISBN 974-000-849-4</ref> สำหรับบทพากย์เป็นคำประพันธ์ชนิดกาพย์ฉบัง 16 หรือกาพย์ยานี 11 บท มีชื่อเรียกแตกต่างกัน วิธีพากย์บทโขนในการแสดง แบ่งออกเป็นประเภทต่าง ดังนี้<ref>[http://www.thainame.net/project/khonthai/laksanakhon.html ลักษณะบทโขนที่ใช้ในการแสดง]</ref><ref>[http://personal.swu.ac.th/students/fa471010166/khon3.htm ลักษณะบทโขน 6 ประเภท]</ref>
# บทร้อง
# บทพากย์
# บทเจรจา
 
ลักษณะบทโขนในสมัยโบราณ แบ่งออกเป็น 3 ประเภทคือ บทร้อง บทพากย์และบทเจรจา ซึ่งบทร้องนั้นเป็นการร้องกลอนบทละคร ใช้สำหรับแสดงโขนโรงในและโขนฉากเท่านั้น บทพากย์ใช้กาพย์ยานีและกาพย์ฉบัง เมื่อพากย์จบหนึ่งบท ปี่พาทย์จะตีตะโพนท้าและตี[[กลองทัด]]ต่อจากตะโพนสองที ผู้แสดงภายในโรงจะร้องรับว่า "เพ้ย" พร้อม ๆ กัน ซึ่งคำว่าเพ้ยนี่ สันนิษฐานว่าแต่เดิมนั้น มาจากคำว่า "เฮ้ย" ในการบัญชาศึกสงครามของแม่ทัพนายกอง ค่อย ๆ เพี้ยนเสียงจนกลายเป็นคำว่าเพ้ยในปัจจุบัน<ref name="คนพากย์ เจรจา ต้นเสียง ลูกคู่">คนพากย์ เจรจา ต้นเสียง ลูกคู่, โขน, ธนิต อยู่โพธิ์, องค์การค้าของคุรุสภา, 2538, หน้า 169, เลขหมู่หนังสือ 793. 3209593, ISBN 974-000-849-4</ref> สำหรับบทพากย์เป็นคำประพันธ์ชนิดกาพย์ฉบัง 16 หรือกาพย์ยานี 11 บท มีชื่อเรียกแตกต่างกัน วิธีพากย์บทโขนในการแสดง แบ่งออกเป็นประเภทต่าง ดังนี้<ref>[http://www.thainame.net/project/khonthai/laksanakhon.html ลักษณะบทโขนที่ใช้ในการแสดง]</ref><ref>[http://personal.swu.ac.th/students/fa471010166/khon3.htm ลักษณะบทโขน 6 ประเภท]</ref>
 
* '''การพากย์เมืองหรือพากย์พลับพลา'''
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/โขน"