ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ทฤษฎีสัมพัทธภาพ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Dinamik-bot (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{รอการตรวจสอบ}}
[[ไฟล์:Albert Einstein 1979 USSR Stamp.jpg|thumb|280px|<math>E=mc^2</math>]]
'''ทฤษฎีสัมพัทธภาพ''' ของ[[อัลเบิร์ต ไอน์สไตน์]] เป็นกลุ่มของทฤษฎีทางฟิสิกส์ 2 ทฤษฎี คือ [[ทฤษฎีสัมพัทธภาพพิเศษ]]และ[[ทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไป]] ทฤษฎีทั้งสองนี้ถือกำเนิดขึ้นเพื่อใช้อธิบายข้อเท็จจริงที่ว่าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้านั้นไม่ได้ประพฤติตนตามกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าจะเคลื่อนที่ด้วยความเร็วคงที่โดยไม่ขึ้นกับการเคลื่อนที่ของผู้สังเกต แนวคิดหลักของทั้ง 2 ทฤษฎีนี้ คือ แม้ผู้สังเกตสองคนที่กำลังเคลื่อนที่สัมพัทธ์กันนั้นอาจจะตรวจวัดการเปลี่ยนแปลงของเวลาและตำแหน่งได้ต่างกันสำหรับเหตุการณ์หนึ่งๆ แต่ทั้งสองจะยังคงสังเกตเห็นเนื้อหาของกฎทางฟิสิกส์ที่เหมือนกัน
เส้น 17 ⟶ 16:
 
ทฤษฎีนี้กล่าวถึงสมการหนึ่งที่มาแทนที่กฎแรงโน้มถ่วงของนิวตัน ใช้[[เรขาคณิตเชิงอนุพันธ์]]และ[[เทนเซอร์]]ในการอธิบาย[[ความโน้มถ่วง]] แสดงให้เห็นว่าผู้สังเกตทุกคนเหมือนกันไม่ว่าจะเคลื่อนที่ด้วยอัตราเร็วคงที่หรือไม่ กฎของทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไปเหมือนกันสำหรับผู้สังเกตทุกคน แม้ว่าผู้สังเกตแต่ละคนเคลื่อนที่ด้วยความเร่งเมื่อเทียบกับผู้สังเกตคนอื่น ในทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไป ความโน้มถ่วงไม่ได้เป็นแรง (อย่างในกฎความโน้มถ่วงของนิวตัน) อีกต่อไป แต่เป็นผลจากการโค้งของ[[กาล-อวกาศ]] (spacetime หรืออาจแปลว่าปริภูมิก็ได้) ทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไปเป็นทฤษฎีเชิงเรขาคณิตที่ถือหลักว่า[[มวล]]และ[[พลังงาน]]ทำให้เกิดการโค้งงอของ[[กาล-อวกาศ]] และการโค้งนี้ส่งผลต่อเส้นทางการเคลื่อนที่ของอนุภาคอิสระรวมทั้งแสง
 
== หนังสืออ่านเพิ่ม ==
* {{cite book | author=Bergmann, Peter G. | title=Introduction to the Theory of Relativity | publisher=Dover Publications | year=1976 | id=ISBN 0-486-63282-2}}
 
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
{{Commons category|Theory of relativity}}
{{วิกิตำรา}}
* [http://relativity.livingreviews.org/ Living Reviews in Relativity] — An open access, peer-referred, solely online physics journal publishing invited reviews covering all areas of relativity research.
* [http://www.mathpages.com/rr/rrtoc.htm Reflections on Relativity] — A complete online course on Relativity.