ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วัชรปรัชญาปารมิตาสูตร"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Xiengyod (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Xiengyod (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{ต้องการอ้างอิง}}
[[ImageFile:Subhuti_diamond_sutra_detail_retouchedJingangjing.jpegjpg|thumb|left300px|[[พระสุภูติ]]กราบทูลอาราธนา[[พระโคตมพุทธเจ้า]]แสดงวัชรปรัชญาปารมิตาสูตร ภาพจากม้วนหนังสือวัชรปรัชญาปารมิตาสูตรที่พบในถ้ำตุ้นหวง ประเทศจีน]]
{{พุทธศาสนา}}
 
'''วัชรปรัชญาปารมิตาสูตร''' ({{lang-sa|वज्रच्छेदिका प्रज्ञापारमितासूत्र}}, {{zh-all|t=金剛般若波羅蜜經}}, {{lang-en|Diamond Sutra}}) เป็นชื่อพระสูตรสำคัญหมวดปรัชญาปารมิตาของ[[พระพุทธศาสนา]]ฝ่าย[[มหายาน]] มีชื่อเต็มใน[[ภาษาสันสกฤต]]ว่า วัชรัจเฉทิกปรัชญาปารมิตาสูตร หมายถึงพระสูตรว่าด้วยปัญญาญาณอันสมบูรณ์ประดุจเพชรที่จะตัดภาพมายา คือ[[อวิชชา]]และ[[อุปาทาน]]อันเป็นเครื่องกีดขวางมิให้บุคคลบรรลุถึงความรู้แจ้ง เชื่อกันว่าพระสูตรหมวดปรัชญาปารมิตานี้เป็นพระสูตรมหายานรุ่นแรก ๆ ที่เกิดขึ้น
[[Image:Subhuti_diamond_sutra_detail_retouched.jpeg|thumb|left|พระสุภูติกราบทูลอาราธนาพระโคตมพุทธเจ้าแสดงวัชรปรัชญาปารมิตาสูตร ภาพจากม้วนหนังสือวัชรปรัชญาปารมิตาสูตรที่พบในถ้ำตุ้นหวง ประเทศจีน]]
 
'''วัชรปรัชญาปารมิตาสูตร''' ({{lang-sa|वज्रच्छेदिका प्रज्ञापारमितासूत्र}}, {{zh-all|t=金剛般若波羅蜜經}}, {{lang-en|Diamond Sutra}}) เป็นชื่อพระสูตรสำคัญหมวดปรัชญาปารมิตาของ[[พระพุทธศาสนา]]ฝ่าย[[มหายาน]] มีชื่อเต็มใน[[ภาษาสันสกฤต]]ว่า วัชรัจเฉทิกปรัชญาปารมิตาสูตร หมายถึงพระสูตรว่าด้วยปัญญาญาณอันสมบูรณ์ประดุจเพชรที่จะตัดภาพมายา คือ[[อวิชชา]]และ[[อุปาทาน]]อันเป็นเครื่องกีดขวางมิให้บุคคลบรรลุถึงความรู้แจ้ง เชื่อกันว่าพระสูตรหมวดปรัชญาปารมิตานี้เป็นพระสูตรมหายานรุ่นแรก ๆ ที่เกิดขึ้น
 
เนื้อหาสาระสำคัญเป็นเรื่องราวการเทศนาสั่งสอนของ[[พระพุทธเจ้า]]กับ[[พระสุภูติ]]ซึ่งเป็น[[พระอรหันต์|พระอรหันต]][[สาวก]] ที่พระเชตวันมหาวิหาร ว่าด้วยการบำเพ็ญบารมีของ[[พระโพธิสัตว์]] จะต้องกระทำด้วยความไม่ยึดมั่นถือมั่นในสรรพสิ่งทั้งปวง เป็นการอรรถาธิบายถึงหลัก[[ศูนยตา]] ความว่างเปล่าปราศจากแก่นสารของอัตตาตัวตนและสรรพสิ่งทั้งปวง แม้[[ธรรมะ]]และพระ[[นิพพาน]]ก็มีสภาวะเป็นศูนยตาด้วยเช่นเดียวกัน สรรพสิ่งเป็นแต่เพียงสักว่าชื่อเรียกสมมติขึ้นกล่าวขาน หาได้มีแก่นสารแท้จริงอย่างใดไม่ เพราะสิ่งทั้งปวงอาศัยเหตุปัจจัยประชุมพร้อมกันเป็นแดนเกิด หาได้ดำรงอยู่ด้วยตัวของมันเอง เช่นนี้สิ่งทั้งปวงจึงเป็นมายา พระโพธิสัตว์เมื่อบำเพ็ญบารมีพึงมองเห็นสรรพสิ่งในลักษณะเช่นนี้ เพื่อมิให้ยึดติดในมายาของโลก ท้ายที่สุด พระพุทธองค์ได้สรุปว่าผู้เห็นภัยใน[[วัฏสงสาร]]พึงยังจิตมิให้บังเกิดความยึดมั่นผูกพันในสรรพสิ่งทั้งปวง เพราะสังขตธรรมนั้นอุปมาดั่งภาพมายา ดั่งเงา ดั่งความฝัน ดั่งฟองในน้ำ และดั่งสายฟ้าแลบ เกิดจากการอิงอาศัยไม่มีสิ่งใดเป็นแก่นสารจีรังยั่งยืน
 
แนวคิดเรื่องศูนยตานี้ได้พัฒนาต่อไปโดยท่านคุรุ[[นาคารชุน]]แห่งนิกายมาธยมิกะ จนกลายเป็นความคิดหลักทางพุทธปรัชญาที่ลึกล้ำและโดดเด่นในโลกจนทุกวันนี้ พระสูตรนี้มีแปลเป็นภาษาไทยโดย [[เสถียร โพธินันทะ]]
 
== ชื่อพระสูตร ==
{{พุทธศาสนา}}
วัชรปรัชญาปารมิตาสูตรมีชื่อเต็มใน[[ภาษาสันสกฤต]]ว่า วัชรัจเฉทิกาปรัชญาปารมิตาสูตร ({{lang-sa|वज्रच्छेदिका प्रज्ञापारमितासूत्र}}; วชฺรจฺเฉทิกา ปฺรชฺญาปารมิตาสูตฺร) หมายถึงพระสูตรว่าด้วยปัญญาญาณอันสมบูรณ์ประดุจเพชรที่จะตัดภาพมายา คือ[[อวิชชา]]และ[[อุปาทาน]]อันเป็นเครื่องกีดขวางมิให้บุคคลบรรลุถึงความรู้แจ้ง ในภาษาอังกฤษเรียกทั้วไปโดยย่อว่า "Diamond Sūtra" (พระสูตรเพชร) หรือ "Vajra Sūtra" (วัชรสูตร) ส่วนชื่อพระสูตรในภาษาอื่นมีดังนี้
 
*[[ภาษาจีน|จีน]]: 金剛般若波羅蜜多經, ''jīngāng bōrěbōluómìduō jīng'', เรียกโดยย่อว่า 金剛經, ''jīngāng jīng''
*{{lang-ja|金剛般若波羅蜜多経}}, ''kongou hannyaharamita kyou'' (คงโง ฮันเนียฮะระมิตะ เคียว), เรียกโดยย่อว่า 金剛経, ''kongou kyou'' (คงโงเคียว)
*{{lang-ko|금강반야바라밀경}}, ''geumgang banyabaramil gyeong'', เรียกโดยย่อว่า 금강경, ''geumgang gyeong''
*{{lang-vi|''Kim cương bát-nhã-ba-la-mật-đa kinh''}} เรียกโดยย่อว่า ''Kim cương kinh''
*[[ภาษาทิเบต|ทิเบต]]: ''’phags pa shes rab kyi pha rol tu phyin pa rdo rje gcod pa zhes bya ba theg pa chen po’i mdo''
 
== แหล่งข้อมูลอื่น ==