ผลต่างระหว่างรุ่นของ "คาราเต้"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
HRoestBot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.6.5) (โรบอต เพิ่ม: jv:Karaté
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{รอการตรวจสอบ}}
[[ไฟล์:Hanashiro Chomo.jpg|thumb]]
'''คาราเต้''' {{ ญี่ปุ่น| 空手|karate|คะระเตะ }} หรือ '''คาราเต้โด''' {{ ญี่ปุ่น|空手道|karatedō|คะระเตะโด|วิถีมือเปล่า }} เป็น[[ศิลปะการต่อสู้]]ถือกำเนิดที่[[โอะกินะวะ]] [[ประเทศญี่ปุ่น]] เป็นการผสมผสานระหว่างการต่อสู้ของชาวโอะกินะวะและชาวจีน คาราเต้ได้เผยแพร่เข้าสู่ญี่ปุ่นในปี [[พ.ศ. 2464]] (ค.ศ. 1921) เมื่อชาวโอะกินะวะอพยพเข้าสู่ประเทศญี่ปุ่น
 
คาราเต้มักถูกเข้าใจผิดว่า เป็นการต่อสู้ด้วยการฟันอิฐ แต่ที่จริงแล้ว คือการต่อสู้ด้วยการใช้อวัยวะต่างๆ ในร่างกาย เช่น กำปั้น เท้า สันมือ นิ้ว ศอก เป็นต้น แต่เมื่อถูกดัดแปลงเป็นกีฬาแล้วเหลือเพียงมือและเท้า
 
บทความเพิ่มเติมเกี่ยวกับความหมายของคาราเต้
 
[http://www.karatethai.com/index.php?option=com content&task=view&id=95&Itemid=9/ คาราเต้ หรือคาราเต้โด]
 
== ประวัติ ==
เส้น 15 ⟶ 10:
โดย โอะกินะวะเต้ จะมีวิชาที่สามารถแยกเป็นจุดเด่นของแต่ละสำนัก หลักๆ ได้แก่ 3 สำนักหลัก ซึ่งชื่อสำนักได้ตั้งตามชื่อเมืองใหญ่ที่วิชานั้นๆ อาศัยอยู่ ได้แก่ ชูริเต้(Shuri Te) นาฮาเต้(Naha Te) และโทมาริเต้(Tomari Te)
 
== ชูริเต้ มวยแห่งเมืองชูริ (Shuri-Te 首里手) ==
บทความเพิ่มเติมเกี่ยวกับประวัติคาราเต้
โซคอน มัทสุมูระ (Sokon Mutsumura) ผู้เชี่ยวชาญแห่งชูริเต้ได้เดินทางไปจีนเพื่อศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมความรู้ของตนและนำกลับมาพัฒนาชูริเต้ ความรู้ใหม่ที่โซคอนนำมาก็คือ ทักษะของมวยสิงอี้ฉวน ต่อมา โชกิ โมโตบุ Shoki Motobu ผู้เชี่ยวชาญแห่งชูริเต้ ได้แลกเปลี่ยนความรู้กับ T'ung Gee Hsing (ผู้สืบทอดวิชาสิงอี้ และปากั้ว ซึ่งอพยพมาอยู่ที่โอะกินะวะ)
 
ต่อมาปีค.ศ. 1922 ฟูนาโกชิ กิชิน ลูกศิษย์ของ อังโก อิโตสึ (Anko Itosu) แห่งชูริเต้ ได้พัฒนาคาราเต้ และเผยแพร่เข้าสู่ญี่ปุ่นอย่างเป็นทางการที่โตเกียวโดยได้รับการสนับสนุนของ จิกาโร่ คาโน (Jikaro Kano) ผู้ก่อตั้งยูโดโคโดกัน Kodokan Judo และต่อมา บรรดาศิษย์ของฟูนาโกชิ ได้เรียกรูปแบบการสอนของฟูนาโกชิว่า โชโต (Shoto 松涛) ตามนามปากกาของท่าน และได้เรียกโรงฝึกแห่งแรกของท่านว่า โชโตกัน (松涛館)
[http://www.karatethai.com/index.php?option=com_content&task=view&id=91&Itemid=9/ คาราเต้ศาสตร์แห่งความว่างเปล่า]
 
== นาฮาเต้ มวยแห่งเมืองนาฮา (Naha-Te 那覇手) ==
 
คันเรียว ฮิกาอนนะ (Kanryo Higaonna) ลูกศิษย์ของ อาราคากิ เซย์โช (Arakagi Seisho) ผู้เชี่ยวชาญนาฮาเต้ ได้เดินทางสู่ฟูเจี้ยนเพื่อหาประสบการณ์และศึกษาวิชาการต่อสู้ของจีน ได้เรียนกับ ริวริวโก (Ryu Ryu Ko) ผู้เชี่ยวชาญมวยจีน และเดินทางกลับมาพัฒนานาฮาเต้ ต่อมา โชจุน มิยากิ (宮城 長順 Miyagi Chojun, 1888-1953) ผู้สืบทอดนาฮาเต้ของคันเรียว ได้เปลี่ยนชื่อสำนักนาฮาเต้ เป็น โกจูริวคาราเต้ (剛柔流空手) เพื่อพัฒนาให้ทันสมัย และได้เข้ามาในญี่ปุ่นและเริ่มทำการสอนคาราเต้ (แต่เดิมสอนอยู่ในโอะกินะวะ) เป็นเวลาไม่นานนักหลังจาก ฟูนาโกชิ แห่งโชโตกัน
 
 
== ชูริเต้ มวยแห่งเมืองชูริ ( Shuri-Te 首里手 ) ==
 
โซคอน มัทสุมูระ ( Sokon Mutsumura ) ผู้เชี่ยวชาญแห่งชูริเต้ได้เดินทางไปจีนเพื่อศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมความรู้ของตนและนำกลับมาพัฒนาชูริเต้ ความรู้ใหม่ที่โซคอนนำมาก็คือ ทักษะของมวยสิงอี้ฉวน ต่อมา โชกิ โมโตบุ Shoki Motobu ผู้เชี่ยวชาญแห่งชูริเต้ ได้แลกเปลี่ยนความรู้กับ T'ung Gee Hsing (ผู้สืบทอดวิชาสิงอี้ และปากั้ว ซึ่งอพยพมาอยู่ที่โอะกินะวะ)
 
ต่อมาปีค.ศ. 1922 ฟูนาโกชิ กิชิน ลูกศิษย์ของ อังโก อิโตสึ ( Anko Itosu ) แห่งชูริเต้ ได้พัฒนาคาราเต้ และเผยแพร่เข้าสู่ญี่ปุ่นอย่างเป็นทางการที่โตเกียวโดยได้รับการสนับสนุนของ จิกาโร่ คาโน ( Jikaro Kano ) ผู้ก่อตั้งยูโดโคโดกัน Kodokan Judo และต่อมา บรรดาศิษย์ของฟูนาโกชิ ได้เรียกรูปแบบการสอนของฟูนาโกชิว่า โชโต ( Shoto 松涛 ) ตามนามปากกาของท่าน และได้เรียกโรงฝึกแห่งแรกของท่านว่า โชโตกัน ( 松涛館 )
 
 
== นาฮาเต้ มวยแห่งเมืองนาฮา ( Naha-Te 那覇手 ) ==
 
คันเรียว ฮิกาอนนะ ( Kanryo Higaonna ) ลูกศิษย์ของ อาราคากิ เซย์โช ( Arakagi Seisho ) ผู้เชี่ยวชาญนาฮาเต้ ได้เดินทางสู่ฟูเจี้ยนเพื่อหาประสบการณ์และศึกษาวิชาการต่อสู้ของจีน ได้เรียนกับ ริวริวโก ( Ryu Ryu Ko ) ผู้เชี่ยวชาญมวยจีน และเดินทางกลับมาพัฒนานาฮาเต้ ต่อมา โชจุน มิยากิ ( 宮城 長順 Miyagi Chojun, 1888-1953 ) ผู้สืบทอดนาฮาเต้ของคันเรียว ได้เปลี่ยนชื่อสำนักนาฮาเต้ เป็น โกจูริวคาราเต้ ( 剛柔流空手 ) เพื่อพัฒนาให้ทันสมัย และได้เข้ามาในญี่ปุ่นและเริ่มทำการสอนคาราเต้ (แต่เดิมสอนอยู่ในโอะกินะวะ) เป็นเวลาไม่นานนักหลังจาก ฟูนาโกชิ แห่งโชโตกัน
 
หลังจากที่ มิยากิ ได้ทำการสอนในญี่ปุ่นและโอะกินะวะ ท่านได้ตัดสินใจเดินทางไปยังประเทศจีนแผ่นดินใหญ่เพื่อศึกษาในด้านของมวยจีนตามแบบอาจารย์ของตน และได้กลับมาญี่ปุ่นอีกครั้งเพื่อเรียบเรียงตำราการฝึกสอนของสำนักโกจูริวขึ้นใหม่ ให้เหมาะสมกับที่ท่านได้เรียนรู้มา
 
ในขณะที่ มิยากิ เดินทางไปจีนแผ่นดินใหญ่ หนึ่งในนักเรียนที่ดีที่สุดของ มิยากิ ที่รู้จักกันดีในญี่ปุ่นก็คือ โกเกน ยามากูจิ ( 剛玄 山口 Gogen Yamaguchi, 1909-1989 ) ฉายา THE CAT ผู้ได้รับสายดำระดับ 10 ดั้งจากมิยากิ ได้ทำการสอนต่อไปในญี่ปุ่น โดยยึดหลักการสอนแบบดั้งเดิมที่ได้เรียนรู้จากมิยากิ ก่อนที่จะไปศึกษาต่อที่จีน
 
ภายหลังจึงเป็นเหตุให้เกิดการแบ่งแยกสำนักโกจูริว เป็น 2 พวก คือ โกจูริว ซึ่งมีการเปลี่ยนแปลงท่าใหม่ ซึ่งผสมผสานศิลปะของมวยจีน โดย โชจุน มิยากิ และ โกจูไก พวกที่มีการสอนในญี่ปุ่นตั้งแต่แรกเริ่ม โดย โกเกน ยามากูจิ
 
 
== ความหมายคำว่า คาราเต้ ==
คำว่า "คาราเต้" เดิมทีมาจากการออกเสียงแบบชาวโอะกินะวะ ตัว "คารา" 唐 ในภาษาจีน หมายถึง "ประเทศจีน" หรือ "ราชวงศ์ถัง" ส่วน "เต้" 手 หมายถึง มือ คาราเต้ หมายความว่า "ฝ่ามือจีน" หรือ "ฝ่ามือราชวงศ์ถัง" หรือ "กำปั้นจีน" หรือ "ทักษะการต่อสู้แบบจีน" ในรูปแบบการเขียนแบบนี้ "ฝ่ามือราชวงศ์ถัง" จึงหมายถึง การต่อยมวยแบบถัง หรือ "ฝ่ามือจีน" ก็บ่งบอกถึงอิทธิพลที่รับมาจากลักษณะการต่อสู้ของชาวจีน ในปีค.ศ. 1933 หลังจากสงครามระหว่างจีนกับญี่ปุ่นครั้งที่ 2 กิชิน ฟุนาโคชิ (船越義珍 Funakoshi Gichin, 1868-1957) ซึ่งเป็นที่รู้จักในฐานะ บิดาแห่งคาราเต้สมัยใหม่ ได้เปลี่ยนตัวอักษร "คารา" ไปเป็นตัวอักษรที่มีเสียงเหมือนกันแต่มีความหมายว่า "ความว่างเปล่า" 空 แทน
 
เมื่อปีค.ศ. 1936 หนังสือเล่มที่สองของฟุนาโคชิใช้ตัวอักษร "คารา" ที่มีความหมายว่าความว่างเปล่า และในการชุมนุมบรรดาอาจารย์ชาวโอะกินะวะก็ใช้ตัวอักษรเดียวกัน ตั้งแต่นั้นมาคำว่า "คาราเต้" (ซึ่งออกเสียงเหมือนเดิม แต่ใช้ตัวอักษรใหม่) จึงหมายถึง "มือเปล่า"
คำว่า "คาราเต้" เดิมทีมาจากการออกเสียงแบบชาวโอะกินะวะ ตัว "คารา" 唐 ในภาษาจีน หมายถึง "ประเทศจีน" หรือ "ราชวงศ์ถัง" ส่วน "เต้" 手 หมายถึง มือ คาราเต้ หมายความว่า "ฝ่ามือจีน" หรือ "ฝ่ามือราชวงศ์ถัง" หรือ "กำปั้นจีน" หรือ "ทักษะการต่อสู้แบบจีน" ในรูปแบบการเขียนแบบนี้ "ฝ่ามือราชวงศ์ถัง" จึงหมายถึง การต่อยมวยแบบถัง หรือ "ฝ่ามือจีน" ก็บ่งบอกถึงอิทธิพลที่รับมาจากลักษณะการต่อสู้ของชาวจีน ในปีค.ศ. 1933 หลังจากสงครามระหว่างจีนกับญี่ปุ่นครั้งที่ 2 กิชิน ฟุนาโคชิ ( 船越義珍 Funakoshi Gichin, 1868-1957 ) ซึ่งเป็นที่รู้จักในฐานะ บิดาแห่งคาราเต้สมัยใหม่ ได้เปลี่ยนตัวอักษร "คารา" ไปเป็นตัวอักษรที่มีเสียงเหมือนกันแต่มีความหมายว่า "ความว่างเปล่า" 空 แทน
 
คำว่า "มือเปล่า" ไม่เพียงแต่นักคาราเต้จะต่อสู้โดยปราศจากอาวุธแล้ว ยังซ่อนความหมายตามความเชื่อแบบเซ็นไว้ด้วย เพราะตามวิถีแห่งเซ็นการพัฒนาความสามารถ และศิลปะของแต่ละบุคคล จะต้องทำจิตใจให้ว่างเปล่า ละเว้นจากความปรารถนา ความมีทิฐิและกิเลสต่างๆ
เมื่อปีค.ศ. 1936 หนังสือเล่มที่สองของฟุนาโคชิใช้ตัวอักษร "คารา" ที่มีความหมายว่าความว่างเปล่า และในการชุมนุมบรรดาอาจารย์ชาวโอะกินะวะก็ใช้ตัวอักษรเดียวกัน ตั้งแต่นั้นมาคำว่า "คาราเต้" ( ซึ่งออกเสียงเหมือนเดิม แต่ใช้ตัวอักษรใหม่ ) จึงหมายถึง "มือเปล่า"
 
คาราเต้ แปลว่า วิถีแห่งการใช้มือ (ร่างกาย) ต่อสู้โดยปราศจากอาวุธ วิถีแห่งคาราเต้เป็นวิธีการดึงพลังจากทั้งร่างมารวมให้เป็นหนึ่งในการต่อสู้โจมตี ซึ่งความรุนแรงของการโจมตีนั้นมีคำกล่าวถึงว่า "อิคเคน ฮิซัทสึ"(一拳必殺) หรือ "พิชิตในหมัดเดียว" สิ่งที่สำคัญของคาราเต้คือการต่อสู้กับตนเอง เช่นการฝึกยั้งแรงการโจมตี โดยใช้ในการหยุดโจมตีเมื่อสัมผัสร่างกายคู่ต่อสู้แม้เพียงเล็กน้อย เพื่อให้เกิดความรู้สึกเจ็บไม่มากและป้องกันการบาดเจ็บ ซึ่งเป็นการฝึกการกำหนดความรุนแรงของการโจมตี เมื่อผู้ฝึกสามารถยั้งแรงได้ เขาก็จะเพิ่มความรุนแรงในการโจมตีได้จนถึงขีดความสามารถเช่นเดียวกัน
คำว่า "มือเปล่า" ไม่เพียงแต่นักคาราเต้จะต่อสู้โดยปราศจากอาวุธแล้ว ยังซ่อนความหมายตามความเชื่อแบบเซ็นไว้ด้วย เพราะตามวิถีแห่งเซ็นการพัฒนาความสามารถ และศิลปะของแต่ละบุคคล จะต้องทำจิตใจให้ว่างเปล่า ละเว้นจากความปรารถนา ความมีทิฐิและกิเลสต่างๆ
 
คาราเต้ แปลว่า วิถีแห่งการใช้มือ (ร่างกาย) ต่อสู้โดยปราศจากอาวุธ วิถีแห่งคาราเต้เป็นวิธีการดึงพลังจากทั้งร่างมารวมให้เป็นหนึ่งในการต่อสู้โจมตี ซึ่งความรุนแรงของการโจมตีนั้นมีคำกล่าวถึงว่า "อิคเคน ฮิซัทสึ"( 一拳必殺 ) หรือ "พิชิตในหมัดเดียว" สิ่งที่สำคัญของคาราเต้คือการต่อสู้กับตนเอง เช่นการฝึกยั้งแรงการโจมตี โดยใช้ในการหยุดโจมตีเมื่อสัมผัสร่างกายคู่ต่อสู้แม้เพียงเล็กน้อย เพื่อให้เกิดความรู้สึกเจ็บไม่มากและป้องกันการบาดเจ็บ ซึ่งเป็นการฝึกการกำหนดความรุนแรงของการโจมตี เมื่อผู้ฝึกสามารถยั้งแรงได้ เขาก็จะเพิ่มความรุนแรงในการโจมตีได้จนถึงขีดความสามารถเช่นเดียวกัน
 
คำว่า โด แปลว่า วิถีทาง ลู่ทาง ศาสตร์ อีกทั้งยังหมายถึงปรัชญาเต๋าอีกด้วย โด เป็นคำต่อท้ายที่ใช้สำหรับศิลปะหลายชนิด ให้ความหมายว่า นอกจากจะศิลปะเหล่านั้นจะเป็นทักษะแล้ว ยังต้องมีพื้นฐานของจิตวิญญาณอยู่ด้วย สำหรับในความหมายที่เกี่ยวข้องกับศิลปะการต่อสู้ อาจจะแปลได้ว่า "วิถีแห่ง..." เช่น ใน ไอคิโด ยูโด เคนโด ดังนั้น "คาราเต้โด" จึงหมายถึง "วิถีแห่งมือเปล่า"
เส้น 63 ⟶ 46:
 
== การฝึกฝน ==
ขั้นตอนการฝึกของคาราเต้โด จะเริ่มต้นที่การสอนธรรมเนียมปฏิบัติ เช่นท่าเคารพต่าง ๆ การปฏิบัติตนต่อเซนเซ (อาจารย์) เซมไป (รุ่นพี่) มารยาทในโดโจ (โรงฝึก) ระเบียบในการฝึกต่างๆ แล้วจึงสอนหลักในวิชาคาราเต้ โดยจะเริ่มต้นที่การยืนในท่าชิเซนไต (ท่ายืนธรรมชาติ), ซึกิ (ท่าชก), อุเกะ (ท่าปัดป้อง), เกริ (ท่าเตะ), ดาจิ (ท่ายืนและการย่างก้าว) และนำท่าชกปัดหรือเตะมารวมกับท่าย่างก้าว จนเป็นท่ากิฮ้อง (พื้นฐาน) ต่างๆ เมื่อนำท่าพื้นฐานมาฝึกเข้าคู่กัน โดยให้ฝ่ายหนึ่งบุกฝ่ายหนึ่งรับ ก็จะเป็นการฝึกเพื่อเพิ่มทักษะคูมิเต้ (การต่อสู้) และที่การรวมท่าพื้นฐานต่างๆ มาร้อยเรียงเป็นเพลงมวยไว้รำ หรือที่เรียกว่ากาต้า เพื่อใช้ฝึกสมาธิ และเทคนิครูปแบบในการต่อสู้ต่างๆ
 
สิ่งสำคัญที่จะรวมเป็นนักคาราเต้ที่ดีได้ต้องมีทั้งความเป็น "คาราเต้" และต้องมี "โด" ในจิตใจ โดย คาราเต้ ต้องประกอบด้วย 3K คือ Kihon (基本 กิฮ้อง) เป็นท่าพื้นฐาน Kumite (組手 คุมิเต้) เป็นการต่อสู้ Kata (型 คาตะ) เป็นท่าเพลงมวย รวมแล้วเป็น KARATE ( 空手 คาราเต้ ) เป็นการฝึกเพื่อให้มีสุขภาพพลานามัยที่แข็งแรง และสามารถต่อสู้ป้องกันตัว ช่วยเหลือตนเองและผู้อื่นได้ในยามคับขัน และสิ่งสุดท้ายคือ DO (道 โด) ในคำว่า คาราเต้โด คือการฝึกตนเองให้มีระเบียบวินัยต่อตนเองและผู้อื่น มารยาทกาลเทศะ ความอ่อนน้อมถ่อมตน และหลักปรัชญาพุทธนิกายเซน โดย โด เป็นสิ่งที่ควบคุมจิตใจไม่ให้นักคาราเต้ไปทำร้ายผู้อื่นได้เหมือนดาบในฝัก ดังนั้นนักคาราเต้จึงไม่เป็นแค่นักสู้เท่านั้น แต่ยังต้องเป็นคนที่มีจิตใจดีงามอีกด้วย
ขั้นตอนการฝึกของคาราเต้โด จะเริ่มต้นที่การสอนธรรมเนียมปฏิบัติ เช่นท่าเคารพต่าง ๆ การปฏิบัติตนต่อเซนเซ (อาจารย์) เซมไป (รุ่นพี่) มารยาทในโดโจ (โรงฝึก) ระเบียบในการฝึกต่างๆ แล้วจึงสอนหลักในวิชาคาราเต้ โดยจะเริ่มต้นที่การยืนในท่าชิเซนไต (ท่ายืนธรรมชาติ) , ซึกิ (ท่าชก) , อุเกะ (ท่าปัดป้อง) , เกริ (ท่าเตะ) , ดาจิ (ท่ายืนและการย่างก้าว) และนำท่าชกปัดหรือเตะมารวมกับท่าย่างก้าว จนเป็นท่ากิฮ้อง (พื้นฐาน) ต่างๆ เมื่อนำท่าพื้นฐานมาฝึกเข้าคู่กัน โดยให้ฝ่ายหนึ่งบุกฝ่ายหนึ่งรับ ก็จะเป็นการฝึกเพื่อเพิ่มทักษะคูมิเต้ (การต่อสู้) และที่การรวมท่าพื้นฐานต่างๆ มาร้อยเรียงเป็นเพลงมวยไว้รำ หรือที่เรียกว่ากาต้า เพื่อใช้ฝึกสมาธิ และเทคนิครูปแบบในการต่อสู้ต่างๆ
 
สิ่งสำคัญที่จะรวมเป็นนักคาราเต้ที่ดีได้ต้องมีทั้งความเป็น "คาราเต้" และต้องมี "โด" ในจิตใจ โดย คาราเต้ ต้องประกอบด้วย 3K คือ Kihon ( 基本 กิฮ้อง ) เป็นท่าพื้นฐาน Kumite ( 組手 คุมิเต้ ) เป็นการต่อสู้ Kata ( 型 คาตะ ) เป็นท่าเพลงมวย รวมแล้วเป็น KARATE ( 空手 คาราเต้ ) เป็นการฝึกเพื่อให้มีสุขภาพพลานามัยที่แข็งแรง และสามารถต่อสู้ป้องกันตัว ช่วยเหลือตนเองและผู้อื่นได้ในยามคับขัน และสิ่งสุดท้ายคือ DO ( 道 โด ) ในคำว่า คาราเต้โด คือการฝึกตนเองให้มีระเบียบวินัยต่อตนเองและผู้อื่น มารยาทกาลเทศะ ความอ่อนน้อมถ่อมตน และหลักปรัชญาพุทธนิกายเซน โดย โด เป็นสิ่งที่ควบคุมจิตใจไม่ให้นักคาราเต้ไปทำร้ายผู้อื่นได้เหมือนดาบในฝัก ดังนั้นนักคาราเต้จึงไม่เป็นแค่นักสู้เท่านั้น แต่ยังต้องเป็นคนที่มีจิตใจดีงามอีกด้วย
 
 
 
== คาตะ Kata 型,形 ==
ในคาราเต้ คาตะมีความสำคัญมาก คาตะสามารถบ่งบอกถึงลักษณะเด่นของในคาราเต้แต่ละสำนักได้ว่า สำนักนั้น ๆมีจุดเด่นในการต่อสู้อย่างไร รวมไปถึงระดับความสามารถของบุคคลที่ร่ายคาตะออกมาด้วยว่าอยู่ในระดับไหน มีความรู้ในด้านคาราเต้อย่างไร ในปัจจุบันมีสำนักคาราเต้มากมาย และในแต่ละสำนักก็จะมีคาตะที่ไม่เหมือนกัน ตามแต่ว่าคาราเต้ในสายนั้น ๆ จะสืบทอดต่อกันมาใน โอะกินะวะ-เต้ ชนิดใด
 
ในคาราเต้ คาตะมีความสำคัญมาก คาตะสามารถบ่งบอกถึงลักษณะเด่นของในคาราเต้แต่ละสำนักได้ว่า สำนักนั้น ๆมีจุดเด่นในการต่อสู้อย่างไร รวมไปถึงระดับความสามารถของบุคคลที่ร่ายคาตะออกมาด้วยว่าอยู่ในระดับไหน มีความรู้ในด้านคาราเต้อย่างไร ในปัจจุบันมีสำนักคาราเต้มากมาย และในแต่ละสำนักก็จะมีคาตะที่ไม่เหมือนกัน ตามแต่ว่าคาราเต้ในสายนั้น ๆ จะสืบทอดต่อกันมาใน โอะกินะวะ-เต้ ชนิดใด
 
 
 
'''โชโตกันริว Shotokan-Ryu 松涛館流'''
เส้น 117 ⟶ 94:
|}
 
บทความเพิ่มเติมเกี่ยวกับท่ารำสำนักโชโตกัน
[http://karatethai.com/index.php?option=com content&view=article&id=101:25-&catid=7&Itemid=25/ Clip ท่ารำ สำนักโชโตกัน]
 
'''โกจูริว Goju-Ryu 剛柔流'''
 
เส้น 141 ⟶ 114:
| Suparinpei (壱百零八, スーパーリンペイ)
|}
 
 
 
 
'''วาโดริว Wado-Ryu 和道流'''
เส้น 172 ⟶ 142:
| Suparinpei (壱百零八)
|}
 
 
'''ชิโตริว Shito-Ryu 糸東流 '''
เส้น 269 ⟶ 236:
 
== การแข่งขัน คาตะ Kata 型 ==
1. #การแข่งขัน kata แบ่งออกเป็นประเภททีมและประเภทบุคคล โดยการแข่งขันประเภททีมจะมีสมาชิกในทีม ทั้งหมด 3 คนเป็นผู้หญิงล้วนหรือชายล้วน การแข่งขันประเภทบุคคลก็แบ่งออกเป็นการแข่งขันเดี่ยว ประเภทบุคคลหญิงและประเภทบุคคลชาย
#ระบบการคัดออกแบบการชิงตำแหน่งที่ 3 (Reprechage) จะถูกนำมาใช้
 
#ผู้แข่งขันต้องใช้ทั้งท่าบังคับ(SHITEI) และท่าอิสระ(TOKUI) โดยท่าที่ใช้ในการแข่ง kata ซึ่งจะต้อง ได้รับการยอมรับจากสถานที่ฝึกคาราเต้-โด ที่ถูกยอมรับจากสหพันธ์คาราเต้แห่งโลก (WKF) ยึดตามระบบ Goju, Shito, Shoto และWado ใน 2 รอบแรกจะไม่อนุญาตให้ใช้ท่าอื่นเลย ตารางท่าบังคับของท่า KATA จะอยู่ในภาคผนวกที่ 6 และรายการของ KATA ที่เป็นที่ยอมรับจะอยู่ในภาคผนวกที่ 7
2. ระบบการคัดออกแบบการชิงตำแหน่งที่ 3 (Reprechage) จะถูกนำมาใช้
#ใน 2 รอบแรกผู้แข่งสามารถเลือกจากรายชื่อ shitei kata เท่านั้น ไม่อนุญาตให้แสดงท่าอื่นที่แตกต่างไปได้
 
#ในรอบต่อมาผู้แข่งขันสามารถเลือกท่าจากรายชื่อ TOKUI KATA ในภาคผนวกที่ 7 โดยท่าที่แข่งเหล่านี้เป็นท่า ที่ถูกสอนจากสถานฝึกของผู้แข่งจะถูกนำมาแข่งได้
3. ผู้แข่งขันต้องใช้ทั้งท่าบังคับ(SHITEI) และท่าอิสระ(TOKUI) โดยท่าที่ใช้ในการแข่ง kata ซึ่งจะต้อง ได้รับการยอมรับจากสถานที่ฝึกคาราเต้-โด ที่ถูกยอมรับจากสหพันธ์คาราเต้แห่งโลก (WKF) ยึดตามระบบ Goju, Shito, Shoto และWado ใน 2 รอบแรกจะไม่อนุญาตให้ใช้ท่าอื่นเลย ตารางท่าบังคับของท่า KATA จะอยู่ในภาคผนวกที่ 6 และรายการของ KATA ที่เป็นที่ยอมรับจะอยู่ในภาคผนวกที่ 7
#ท่าที่จะใช้ในการแข่งขันจะต้องเขียนถูกแจ้งไว้ที่โต๊ะคะแนนก่อนเริ่มการแข่งขัน
 
#ผู้แข่งขันจะต้องแสดง KATA ที่ไม่เหมือนกันในแต่ละรอบ เมื่อแสดง KATA ใดไปแล้วห้ามแสดงซ้ำอีก อย่างไรก็ตามถ้ามีการแข่งขันรอบคัดเลือก เนื่องจากมีผู้แข่งขันมากท่า tokui KATA ที่ใช้ในการแข่งรอบคัดเลือก ซึ่งเลือกขึ้น จะสามารถนำมาใช้ได้อีกในรอบอื่นที่เหมาะสม
4. ใน 2 รอบแรกผู้แข่งสามารถเลือกจากรายชื่อ shitei kata เท่านั้น ไม่อนุญาตให้แสดงท่าอื่นที่แตกต่างไปได้
#ในรอบชิงชนะเลิศของการแข่งขัน KATA แบบทีม ใน 2 ทีมที่เข้าแข่งจะแสดง KATA จากรายชื่อ TOKUI KATA ในภาคผนวกที่ 7 ในแบบปกติและพวกเขาจะต้องทำการแสดงความหมายของท่า bunkai KATA ซึ่งมีระยะเวลา 3 นาทีในการแสดง
 
5. ในรอบต่อมาผู้แข่งขันสามารถเลือกท่าจากรายชื่อ TOKUI KATA ในภาคผนวกที่ 7 โดยท่าที่แข่งเหล่านี้เป็นท่า ที่ถูกสอนจากสถานฝึกของผู้แข่งจะถูกนำมาแข่งได้
 
6. ท่าที่จะใช้ในการแข่งขันจะต้องเขียนถูกแจ้งไว้ที่โต๊ะคะแนนก่อนเริ่มการแข่งขัน
 
7. ผู้แข่งขันจะต้องแสดง KATA ที่ไม่เหมือนกันในแต่ละรอบ เมื่อแสดง KATA ใดไปแล้วห้ามแสดงซ้ำอีก อย่างไรก็ตามถ้ามีการแข่งขันรอบคัดเลือก เนื่องจากมีผู้แข่งขันมากท่า tokui KATA ที่ใช้ในการแข่งรอบคัดเลือก ซึ่งเลือกขึ้น จะสามารถนำมาใช้ได้อีกในรอบอื่นที่เหมาะสม
 
8. ในรอบชิงชนะเลิศของการแข่งขัน KATA แบบทีม ใน 2 ทีมที่เข้าแข่งจะแสดง KATA จากรายชื่อ TOKUI KATA ในภาคผนวกที่ 7 ในแบบปกติและพวกเขาจะต้องทำการแสดงความหมายของท่า bunkai KATA ซึ่งมีระยะเวลา 3 นาทีในการแสดง
 
 
หลักการตัดสิน
 
=== หลักการตัดสิน ===
1. การแสดง KATA จะต้องแสดงด้วยความสมบูรณ์ และต้องแสดงให้เห็นถึงความเข้าใจในความหมายของแต่ละท่า ในการประเมิน ความสามารถ ของผู้แข่งขันกรรมการ จะดูจาก
 
เส้น 323 ⟶ 281:
 
== การแข่งขัน คุมิเต้ Kumite 組手 ==
 
การแข่งขันของคาราเต้นั้น สามารถแบ่งออกเป็นรูปแบบต่างๆ ได้ตามการต่อสู้ของแต่ละสำนัก และวัตถุประสงค์ของการแข่งขัน ซึ่งการต่อสู้ของแต่สำนักนั้นย่อมไม่เหมือนกัน จึงมีทั้งรูปแบบการแข่งของสำนัก และแบบสากลที่ได้รับการยอมรับกัน
 
รูปแบบของ JKA (Japan Karate Association) เป็นรูปแบบเฉพาะของสำนักโชโตกัน เอาไว้ใช้แข่งขันกันภายในสำนัก โดยจะเก็บแค่ 1 คะแนน หรือ อิป้งโชบุ ซึ่งเป็นการแข่งขันที่ต้องอาศัยจิตใจ และความสามารถทางด้านคาราเต้อย่างสูง เพราะแค่ประมาทเพียงนิดเดียวสามารถเสียแต้มได้ ซึ่งทางโชโตกันจะมองว่า การโจมตีเพียงหนึ่งหมัดก็สามารถปลิดชีพได้แล้ว ดังนั้นในการแข่งถ้าพลาดแม้แต่หมัดเดียวก็ถือว่าพ่ายแพ้แล้ว ในการตัดสินแต้มนั้นจะต้องเกิดจากความเร็ว รุนแรง ความถูกต้องของคาราเต้ จังหวะ ระยะ และจิตใจที่มุ่งโจมตี ทั้งหมดจะต้องทำให้สมบูรณ์มากที่สุด ถึงจะสามารถสั่งหยุดการแข่งขัน และตัดสินให้แต้มได้ โดยมากการแข่งประเภทนี้ จะนิยมออกอาวุธเพียงหมัดเดียวเพื่อตัดสินแพ้ชนะกัน ดังนั้นการต่อสู้จึงเน้นที่จะ ทำจังหวะ ระยะ ที่ดีที่สุด ไม่เน้นการโจมตีหลายครั้งเนื่องจากถ้าเคลื่อนไหวมากเกินไป หรือโจมตีด้วยความประมาทอาจจะทำให้เกิดความเพลี้ยงพล้ำได้ ซึ่งรูปแบบการแข่งนี้เป็นต้นแบบการแข่งขันคาราเต้ ซึ่งนำมาใช้ในการแข่งขันคาราเต้ครั้งแรก ที่ประเทศญี่ปุ่น และสำนักอื่นๆ ได้นำรูปแบบกติกานี้ไปประยุกต์ใช้ในสำนักของตน
 
รูปแบบสากล WKF(World Karate Federation) ที่ใช้ในการแข่งขันระดับชาติเช่น ซีเกมส์ เอเซี่ยนเกมส์ ชิงแชมป์โลก ซึ่งกฏกติกานั้น ทางสหพันธ์คาราเต้โลก ได้กำหนดไว้เพื่อเป็นมาตรฐาน โดยการแข่งขันจะเก็บคะแนนที่ 8แต้ม ใครสามารถทำแต้มได้สูงกว่าในกำหนดเวลา หรือว่าสามารถชิงได้ 8แต้มก่อนถือว่าเป็นฝ่ายชนะ ซึ่งการแข่งนี้ ได้นำเอาการแข่งขันของ JKA มาเป็นต้นแบบ แต่ปรับเรื่องการให้คะแนน จำนวนคะแนนในการตัดสิน และบทลงโทษของการแข่งขัน เพื่อพัฒนาคาราเต้ให้เป็นกีฬาสากล
เส้น 352 ⟶ 309:
 
c.) IPPON 1 คะแนน
 
 
 
2. คะแนนจะถูกให้ได้ต่อเมื่อการจู่โจมนั้นมีคุณสมบัติ ดังนี้
เส้น 368 ⟶ 323:
 
f.) Correct Distance : ระยะของการจู่โจม
 
 
 
3. การให้คะแนน SANBON เกิดจากการที่นักกีฬา
เส้น 376 ⟶ 329:
 
b.) กวาดขา หรือเหวี่ยงคู่ต่อสู้ล้มลง และตามด้วยการจู่โจมที่ทำคะแนน
 
 
 
4. การให้คะแนน NIHON เกิดจากการที่นักกีฬา
เส้น 388 ⟶ 339:
 
d.) ทำให้คู่ต่อสู้เสียหลัก แล้วจึงทำคะแนน
 
 
 
5. การให้คะแนน IPPON เกิดจากการที่นักกีฬา
เส้น 396 ⟶ 345:
 
b.) ใช้หลังมือ (UCHI)
 
 
 
6. ผู้แข่งขันสามารถโจมตีส่วนต่าง ๆ ของคู่ต่อสู้ได้เฉพาะบริเวณดังต่อไปนี้ คือ
เส้น 414 ⟶ 361:
 
g.) ข้างลำตัว
 
 
 
7. การใช้เทคนิคหรือโจมตีคู่ต่อสู้เสร็จสมบูรณ์ในขณะหมดเวลาพอดีถือว่าใช้ได้ แต่ถ้าผู้แข่งขันยังโจมตีหลังจาก หมดเวลาการแข่งขันแล้ว
หรือหลังจากคำสั่งหยุดของกรรมการผู้ชี้ขาดถือว่าไม่ได้คะแนน และอาจถูกลงโทษ ได้เนื่องจากเป็นการเอาเปรียบคู่ต่อสู้
 
 
 
8. กรณีผู้แข่งขันทั้งสองทำการต่อสู้นอกพื้นที่แข่ง ทั้งสองจะไม่ได้คะแนนถึงแม้ว่าสามารถใช้เทคนิคโจมตีได้อย่าง สมบูรณ์ แต่ในกรณีที่มีคนใดคนหนึ่ง
ใช้เทคนิคการโจมตีอย่างสมบูรณ์ขณะอยู่ในพื้นที่แข่ง และ กรรมการผู้ชี้ขาด ยังมิได้ประกาศ “YAME”
เพื่อหยุดการแข่งขันกรรมการผู้ชี้ขาดสามารถพิจารณาให้คะแนน ผู้แข่งขันคนนั้นได้
 
 
 
9. ถ้าผู้แข่งขันทั้งสองสามารถใช้เทคนิคการต่อสู้ในเวลาเดียวกัน(Aiuchi) ผู้แข่งขันทั้งสองก็จะไม่ได้คะแนน
 
=== คำอธิบายเพิ่มเติม ===
 
 
 
 
คำอธิบายเพิ่มเติม
 
 
 
I. การจับตัวคู่ต่อสู้และทุ่มนั้น สามารถทำได้ต่อเมื่อกระทำหลังจากการใช้เทคนิคจู่โจมของคาราเต้ก่อน หรือคู่ต่อสู้
ได้ทำการจู่โจมและพยายามทุ่มหรือจับตัว
 
II. เพื่อความปลอดภัย การทุ่มหรือโยนคู่ต่อสู้ในลักษณะต่อไปนี้ ห้ามกระทำและจะถูกเตือนหรือปรับโทษ การทุ่มหรือโยนคู่ต่อสู้โดยมิได้ยึดเหนี่ยว, อันตราย, หรือแกนการหมุนอยู่เหนือระดับสะโพก แต่มีข้อยกเว้น ในการทุ่มหรือโยนคู่ต่อสู้ที่สามารถใช้ได้คือ เทคนิคการปัดเท้าคาราเต้แบบดั้งเดิม
อันตราย, หรือแกนการหมุนอยู่เหนือระดับสะโพก แต่มีข้อยกเว้น ในการทุ่มหรือโยนคู่ต่อสู้ที่สามารถใช้ได้คือ เทคนิคการปัดเท้าคาราเต้แบบดั้งเดิม
ซึ่งไม่ต้องมีการจับยึดคู่ต่อสู้ (De Ashi-barai, Ko uchi gari, Kaui waza, etc) การทำคะแนนหลังจากทุ่มหรือโยนคู่ต่อสู้ :
กรรมการผู้ชี้ขาดจะให้เวลาประมาณ 2-3 วินาที หลังจากการทุ่มหรือโยน เพื่อให้โอกาสเข้าทำคะแนน
เส้น 485 ⟶ 418:
ทั้งสองเทคนิคอาจจะทำพร้อมกันแต่น้อยมากที่จะมีประสิทธิภาพต่อการทำคะแนน เท่าเทียมกัน หัวข้อที่ 7: หลักการตัดสินผู้ชนะการแข่งขัน
กรรมการผู้ชี้ขาดจะต้องห้ามไม่สั่ง “AIUCHI” ในกรณีที่มีเพียงฝ่ายเดียวเป็นผู้ทำคะแนนได้ที่แท้จริง
 
 
 
พฤติกรรมต้องห้ามแบ่งเป็น 2 ประเภท (ที่ทำให้เสียโทษ)
เส้น 499 ⟶ 430:
 
4. การทุ่มที่อันตรายและถูกห้ามซึ่งอาจทำให้คู่ต่อสู้บาดเจ็บ
 
 
 
ประเภทที่ 2 (CATEGORY 2)
เส้น 523 ⟶ 452:
9. ใช้คำพูดยั่วยุต่อสู้, ไม่ปฏิบัติตามคำสั่งของกรรมการผู้ชี้ขาด, ไม่สุภาพต่อกรรมการอื่น, หรือการไร้มารยาทอื่นๆ
 
;การเสียโทษ
 
 
การเสียโทษ
 
CHUKOKU(การเตือน)
กรรมการจะเตือนผู้แข่งในกรณีที่เป็นความผิดพลาดครั้งแรกและผิดพลาดเพียงเล็กน้อย
 
 
 
KEIKOKU
การลงโทษโดยฝ่ายตรงข้ามได้คะแนน IPPON(1 คะแนน) และเป็นการตักเตือนสำหรับ ความผิดพลาดเล็กน้อย
ซึ่งกรรมการได้ทำการว่ากล่าวตักเตือนไปแล้ว ในยกแข่งขันนี้ หรือกรณีที่ความผิดพลาดดังกล่าวไม่รุนแรงพอที่จะสั่งลงโทษ HANSOKU CHUI ได้
 
 
 
HANSOKU-CHUI
การลงโทษโดยที่ฝ่ายตรงข้ามได้คะแนน NIHON (2 คะแนน) และมักเกิดเมื่อ กรรมการได้กล่าวตักเตือนและลงโทษแบบ KEIKOKU
ไปแล้วในการแข่งที่ผ่านมาหรือ สามารถใช้ปรับโทษดังกล่าว โดยขั้นการกระทำผิดที่รุนแรงแต่ไม่ถึงขั้น HANSOKU
 
 
 
HANSOKU
การลงโทษในความผิดที่รุนแรงมากหรือเมื่อมีการลงโทษ HANSOKU-CHUI มาก่อน ซึ่งมีผลให้ผู้แข่งขันถูกตัดสิทธิการแข่งขันทันที
ในกรณีแข่งขันประเภททีม ผู้แข่งขันที่ บาดเจ็บจะได้คะแนนเพิ่ม 8 คะแนนบวกด้วยคะแนนของคู่ต่อสู้ ถ้าคะแนนของคู่ต่อสู้ สูงกว่าของตน
 
 
 
SHIKKAKU
เส้น 555 ⟶ 474:
ไม่เชื่อฟัง กรรมการผู้ชี้ขาด หรือละเมิดกฎการแข่งและทำให้เสียเกียรติของกีฬาคาราเต้ หากเป็น การแข่งประเภททีม ถ้าสมาชิกของทีมได้รับ SHIKKAKU
คู่ต่อสู้จะได้รับคะแนน 8 คะแนน บวกกับคะแนนของผู้กระทำผิดถ้าคะแนนของผู้กระทำผิดสูงกว่าของตน
 
 
 
 
 
 
 
 
ในการแข่งขันนอกเหนือจากนี้คือ การแข่งขันภายในสมาคม หรือ สำนัก เช่น การแข่งขันชิงชนะเลิศโกจูไก หรือ การแข่งขันโชโตกันชิงชนะเลิศ
เส้น 619 ⟶ 531:
 
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
http://www.karatethai.com
{{เริ่มอ้างอิง}}
 
* [http://www.karatekaratethai.or.thcom]
* [http://www.karate.or.th]
* [http://www.karatethai.com/index.php?option=com content&task=view&id=95&Itemid=9/ คาราเต้ หรือคาราเต้โด]
* [http://www.karatethai.com/index.php?option=com_content&task=view&id=91&Itemid=9/ คาราเต้ศาสตร์แห่งความว่างเปล่า]
* [http://karatethai.com/index.php?option=com content&view=article&id=101:25-&catid=7&Itemid=25/ Clip ท่ารำ สำนักโชโตกัน]
{{จบอ้างอิง}}
 
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
เส้น 634 ⟶ 551:
* [http://karatethai.com/phpBB3/viewforum.php?f=9 ชุมนุมคาราเต้-โด มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์]
* [http://karatekaset.pantown.com ชุมชนคาราเต้ ม.เกษตรศาสตร์] ที่ [[แพนทาวน์]]
* [http://www.tel3.org/%e0%b8%84%e0%b8%b2%e0%b8%a3%e0%b8%b2%e0%b9%80%e0%b8%95%e0%b9%89%e0%b9%82%e0%b8%94-%e0%b8%a8%e0%b8%b4%e0%b8%a5%e0%b8%9b%e0%b8%b0%e0%b9%80%e0%b8%81%e0%b8%a1%e0%b8%aa%e0%b9%8c%e0%b8%95%e0%b9%88%e0%b8%ad/ คาราเต้โด]
* [http://cukarate-doclub.hi5.com ชมรมคาราเต้จุฬาฯ โชโตกันคาราเต้]
* [http://karatethai.com/phpBB3/viewforum.php?f=9 เว็บบอร์ด ชมรมคาราเต้จุฬาฯ โชโตกันคาราเต้]