ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ศัลยศาสตร์ออร์โทพีดิกส์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Drgarden (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 14:
== ที่มาของคำ ==
[[นิโกลาส์ แอนดรี]] (Nicholas Andry) แพทย์ชาวฝรั่งเศสเป็นผู้ประดิษฐ์คำว่า ''ออร์โทพีดิกส์'' (orthopaedics) ในตำรา ''Orthopédie'' ของเขาที่ตีพิมพ์เมื่อ ค.ศ. 1741 โดยมาจากศัพท์[[ภาษากรีก]] ''orthos'' แปลว่าทำให้ถูก หรือทำให้ตรง และ ''paideion'' แปลว่าเด็ก รวมกันหมายความว่าวิธีการแก้ไขและป้องกันภาวะ[[รูปพิการ]]ในเด็ก
 
*== [[ศัลยแพทย์ออร์โทพีดิกส์]] ==
'''ศัลยแพทย์ออร์โทพีดิกส์''' ({{lang-en|Orthopaedic Surgeons, Orthopaedists}}) (โดยทั่วไปมักสะกดว่า '''แพทย์ออร์โธปิดิกส์''' หรือ '''ศัลยแพทย์ออร์โธปิดิกส์''') เป็นแพทย์เฉพาะทางสาขาหนึ่ง โดยทำการวินิจฉัยและดูแลรักษาด้วยการให้ยาหรือการผ่าตัดในความผิดปกติต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับกระดูก ข้อ เส้นเอ็น และกล้ามเนื้อต่างๆ ของร่างกาย ในภาษาไทยมีชื่อเรียกศัลยแพทย์ออร์โทพีดิกส์หลากหลายชื่อ เช่น ''"ศัลยแพทย์กระดูกและข้อ"'' ''"แพทย์กระดูกและข้อ"'' ''"หมอกระดูก"'' หรือในวงการแพทย์ในประเทศไทยเรียกสั้นๆ ว่า ''"หมอออร์โธฯ"''
 
=== ประวัติศัลยแพทย์ออร์โทพีดิกส์ในประเทศไทย ===
ก่อนที่ประเทศไทยจะมีศัลยแพทย์ออร์โทพีดิกส์นั้น การรักษาทางการแพทย์สมัยใหม่ที่เกี่ยวข้องกับกระดูกและข้อต่างๆ จะทำโดย [[ศัลยแพทย์]]ทั่วไป ร่วมกับ[[อายุรแพทย์]] ประเทศไทยเริ่มมีการฝึกอบรมศัลยแพทย์ออร์โทพีดิกส์แห่งแรกที่[[คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล]]<ref>[http://www.ortho.si.mahidol.ac.th/hist%20before.htm ประวัติภาควิชาศัลยศาสตร์ออร์โธปิดิคส์และกายภาพบำบัด คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล]</ref> จากนั้นจึงมีโรงเรียนแพทย์อื่นๆ ทำการฝึกอบรมศัลยแพทย์ออร์โทพีดิกส์ตามมา
 
=== สถาบันที่เปิดฝึกอบรมศัลยแพทย์ออร์โทพีดิกส์ ===
ในปี [[พ.ศ. 2553]] มีสถาบันที่เปิดฝึกอบรมแพทย์ประจำบ้านสาขาออร์โทพีดิกส์ที่แพทยสภารับรอง 16 สถาบัน<ref>[http://www.tmc.or.th/download/p170909.pdf จำนวนตำแหน่งแพทย์ประจำบ้านของสาขาต่างๆที่สถาบันฝึกอบรมจะรับสมัครในปีการศึกษา 2553]</ref> ดังต่อไปนี้
* [[คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล]]
* [[คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล]]
* [[คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]]
* [[คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์]]
* [[คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่]]
* [[คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น]]
* [[คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์]]
* [[คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ]]
* [[วิทยาลัยแพทยศาสตร์พระมงกุฎเกล้า]]
* [[วิทยาลัยแพทยศาสตร์กรุงเทพมหานครและวชิรพยาบาล]]
* [[โรงพยาบาลราชวิถี]]
* [[โรงพยาบาลเลิศสิน]]
* [[โรงพยาบาลตำรวจ]]
* [[โรงพยาบาลภูมิพลอดุลยเดช]]
* [[โรงพยาบาลขอนแก่น]]
* [[โรงพยาบาลหาดใหญ่]]
 
== คุณสมบัติของผู้เข้าฝึกอบรม ==
* จบการศึกษาแพทยศาสตรบัณฑิตจากมหาวิทยาลัยในประเทศไทย หรือจากสถาบันต่างประเทศที่แพทยสภารับรอง
* หลังจบการศึกษาจะต้องผ่านการเพิ่มพูนทักษะตามข้อกำหนดตามที่แพทยสภากำหนด
 
== ภาควิชาออร์โทพีดิกส์ในคณะแพทยศาสตร์ต่างๆ ของประเทศไทย ==
เส้น 30 ⟶ 59:
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
 
== ดูเพิ่ม ==
* [[ศัลยแพทย์ออร์โทพีดิกส์]]
 
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
เส้น 52 ⟶ 78:
* [http://www.jaaos.org/ Journal of American Academy of Orthopaedic Surgeon]
* [http://www.josonline.org/ The Journal of Orthopaedic Surgery]
 
 
{{แพทยศาสตร์}}