ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ความร้อนแฝงของการหลอมเหลว"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
VolkovBot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.5.1) (โรบอต เพิ่ม: kk:Балқыту жылулығы
Poonyo (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 1:
{{ต้องการอ้างอิง}}
{{รอการตรวจสอบ}}
'''ความร้อนแฝงของการหลอมเหลว''' ({{lang-en|Enthalpy of fusion}}) คือ พลังงานที่ต้องใช้ในการเปลี่ยนสารชนิดหนึ่ง 1 กรัมให้เปลี่ยน[[สถานะ (สสาร)|สถานะ]]จาก[[ของแข็ง]]กลายเป็น[[ของเหลว]] โดยสารนั้นต้องมี[[อุณหภูมิ]]เท่ากับ[[จุดหลอมเหลว]]ของสารชนิดนั้นๆ
 
โดยทั่วไป หากให้[[พลังงาน]]แก่สารจะเป็นการเพิ่มอุณหภูมิของสารนั้น และถ้าดึงพลังงานออกจากสาร สารจะมีอุณหภูมิลดลง แต่หากสารนั้นมีอุณหภูมิถึงจุดๆ หนึ่ง ซึ่งก็คือจุดหลอมเหลว จะมีพลังงานจำนวนหนึ่งที่ถูกใช้ไป แต่ไม่ได้ใช้เพื่อการเปลี่ยนอุณหภูมิของสาร แต่เป็นการใช้หรือคายพลังงานเพื่อเปลี่ยนสถานะ พลังงานนั้นก็คือ ความร้อนแฝงของการหลอมเหลว
บรรทัด 10:
เหตุที่อุณหภูมิของน้ำคงที่ในช่วงที่น้ำอยู่ที่จุดหลอมเหลวนั้น เพราะมีการคายพลังงานซึ่งเท่ากับความร้อนแฝงของการหลอมเหลวของน้ำออกมา เพื่อทำให้น้ำกลายเป็นน้ำแข็งได้ ก่อนที่จะกลายเป็นน้ำแข็งทั้งหมด อุณหภูมิจึงไม่ลดลงในช่วงนั้น หลังจากนั้นก็จะไม่มีการคายพลังงานในส่วนนี้ อุณหภูมิจึงลดลงอีกครั้ง
 
== หน่วยของความร้อนแฝงของการหลอมเหลวมีดังนี้ ==
* [[จูลต่อโมล]] ใน[[ระบบเอสไอ]]
* [[แคลอรี]]ต่อ[[กรัม]]
* [[บีทียู]]ต่อ[[ปอนด์]]
 
หมายเหตุ : แคลอรีในที่นี้นี้ไม่ใช่แคลอรีในเรื่องอาหาร แคลอรีในเรื่องอาหาร (ตัวย่อ Cal) มีค่าเท่ากับ 1000 แคลอรี (ตัวย่อ cal)
 
== ค่าความร้อนแฝงของการหลอมเหลวของสารบางชนิด ==
บรรทัด 52:
[[หมวดหมู่:สมบัติทางเคมี]]
[[หมวดหมู่:ความร้อน]]
{{โครงความรู้}}
 
[[af:Smeltingswarmte]]