ผลต่างระหว่างรุ่นของ "นิวคลีโอไทด์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Supotmails (คุย | ส่วนร่วม)
Supotmails (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 76:
'''ปฏิกริยาที่ 1'''. เส้นทางเริ่มที่การสร้าง [[PRPP]] ซึ่ง [[PRPS1]] คือ [[เอ็นไซม์]] ที่พร้อมทำปฏิกริยา [[R5P]] ซึ่งมีการจัดเรียงตัวเบื้องต้น โดย [[pentose phosphate pathway]] ไปเป็น [[PRPP]] โดยทำปฏิกริยาซ้ำกับ [[Adenosine triphosphate|ATP]] ปฏิกริยานี้ไม่ปกติตรงที่ กลุ่ม [[pyrophosphoryl]] ซึ่งได้ส่งต่อมาจาก ATP ไปยัง [[C1]] ใน [[R5P]] และทำให้เกิดผลิตภัณฑ์ที่มี '''α''' configuration ใน [[C1]] ในปฏิกริยานี้ยังได้ใช้ร่วมกับ pathways สำหรับการสังเคราะห์ [[Tryptophan|Trp]] [[Histidine|His]] และ [[pyrimidine nucleotides]] โดยเหมือนกับเป็น metabolic crossroad หลักที่ต้องการพลังงานจำนวนมากในการทำปฏิกริยาซ้ำ
 
'''ปฏิกริยาที่ 2'''. ในปฏิกริยาปฏิกริยาแรก unique มีจุดเด่นตรงที่เกี่ยวข้องกับ [[purine nucleotide biosynthesis]] ตัวเร่งปฏิกรยา [[PPAT]] ซึ่งทำการเปลี่ยนตำแหน่ง [[pyrophosphate]] group (PP<sub>i</sub>) ใน [[PRPP]] โดย [[amide nitrogen]] ใน Gln ปฏิกริยาเกิดขึ้น โดยการย้อน configuration ของ [[ribose C1]] ซึ่งทำได้โดยการสร้าง '''β'''-[[5-phosphorybosylamine]] (5-PRA) และ การจัดวาง anomeric เตรียมไว้สำหรับการสร้าง nucleotide ในอนาคต ปฏิกริยานี้ขับเคลื่อนให้เสร็จสมบูรณ์ได้โดย การ hydrolysis ตามลำดับของการปลดปล่อย [[PP]]<sub>i</sub> ซึ่งเป็นเส้นทางขั้นตอนการสร้าง flux และใช้เป็นเหตุผลในการควบคุมกระบวนการด้วย
 
== การรวมตัวเป็นโพลีเมอร์ ==