ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ความดันไอ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
ใส่ลิงก์ข้ามภาษาด้วยบอต
Poonyo (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 1:
{{ต้องการอ้างอิง}}
{{รอการตรวจสอบ}}
'''ความดันไอ''' ({{lang-en|vapor pressure}}) คือ [[ความดัน]] (ถ้าไอถูกผสมด้วยก๊าซอื่น เรียก [[ความดันย่อย]]) ของ[[ไอ]] (ไอนี้เกิดจากโมเลกุลหรืออะตอมหนีจากของเหลวหรือของแข็ง) ที่อุณหภูมิกำหนดสำหรับสารเฉพาะ มีความดันที่ซึ่งไอของสารนั้นอยู่ในจุด [[สมดุล]] กับสถานะที่เป็น [[ของเหลว]] หรือ [[ของแข็ง]] ของมัน นี่คือ '''ความดันไอสมดุล'''
(equilibrium vapor pressure) หรือ [[ความดันไออิ่มตัว]] (saturation vapor pressure) ของสาร ที่อุณหภูมินั้น คำว่าความดันไอบ่อยครั้งเข้าใจว่าเป็น ''ความดันไออิ่มตัว'' สารที่มีความดันไอสูงที่อุณหภูมิปกติเราเรียกภาวะการณ์นี้ว่า'''''[[ระเหย]]''''' (volatile)
 
== ความดันไอสมดุลของของแข็ง ==
 
ความดันไอสมดุลหมายถึงความดันเมื่อถึงสถานะควบแน่น (condensed phase) ที่อยู่ในภาวะสมดุลกับไอของมัน ในกรณีของภาวะสมดุลของผลึกของแข็ง ความดันเมื่ออัตราการระเหิดของของแข็งเท่ากับอัตราการหายกลายเป็นไอของมัน สำหรับของแข็งส่วนใหญ่ความดันนี้ต่ำมาก ยกเว้น แนพทาลีน (naphthalene) และน้ำแข็ง วัสดุที่เป็นของแข็งทั้งหมดมีความดันไอที่ต่ำมากและยากมากที่จะหาค่ามัน ซึ่งต้องมีวิธีพิเศษที่จะหาค่ามันคือ
* เทอร์โมกราวิเมตทรี (thermogravimetry)
เส้น 23 ⟶ 22:
 
[[Raoult's law]] ใช้หาค่าความดันไอของของเหลวผสม
 
== ดูเพิ่ม ==
* [[Relative humidity]]
* [[Absolute humidity]].
 
== แหล่งข้อมูลอื่น==
เส้น 36 ⟶ 31:
[[หมวดหมู่:อุตุนิยมวิทยา]]
[[หมวดหมู่:แก๊ส]]
{{โครงวิทยาศาสตร์}}
 
[[af:Dampdruk]]