ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เฮนรี อาลาบาศเตอร์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Heuristics (คุย | ส่วนร่วม)
Heuristics (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 7:
'''นายเฮนรี อาลาบาศเตอร์'''เข้ามาประเทศไทยเป็นครั้งแรกเมื่อ [[พ.ศ. 2399]] ในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4 ในฐานะนักเรียนล่ามเข้ามาเรียนภาษาไทยเพื่อกลับไปรับราชการที่ประเทศอังกฤษ แต่ต่อมาได้รับการแต่งตั้งให้เป็นรองกงศุลอังกฤษประจำกรุงเทพฯ ในระหว่างดำรงตำแหน่งรองกงศุลฯ นายเฮนรี อาลาบาสเตอร์ ผู้ทำหน้าที่รั้งตำแหน่งกงสุลอังกฤษประจำกรุงสยาม ยังได้เป็นหัวหน้าคณะผู้สังเกตการณ์ดาราศาสตร์ของพระราชินีนาถแห่ง ร่วมกับคณะนักดาราศาสตร์ชาวฝรั่งเศส คณะของผู้รั้งตำแหน่งกงสุลอเมริกันประจำกรุงสยาม ตลอดจนชาวยุโรปและอเมริกันที่พำนักอยู่ในประเทศ โดยพระบรมราชานุญาตเข้าร่วมสังเกตการณ์[[สุริยุปราคา]]ที่[[บ้านหว้ากอ]] [[จังหวัดประจวบคีรีขันธ์]]เมื่อวันที่ [[18 สิงหาคม]] [[พ.ศ. 2411]] อีกด้วย แต่ภายหลังเมื่อทำงานในตำแหน่งรองกงศุลไปได้ระยะหนึ่งก็ได้เกิดความขัดแย้งกับกงศุลน็อกซ์ จึงได้ลาออกจากตำแหน่งกลับประเทศอังกฤษ
 
แต่หลังจากที่[[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] รัชกาลที่ 5 เสด็จประพาสรอบ[[แหลมมลายู]] [[ชวา]] และ[[อินเดีย]] เมื่อ [[พ.ศ. 2416]] (พระชนมายุ 20 พรรษา)แล้ว ได้ทรงนำนายเฮนรี อลาบาสเตอร์ (อายุ 37 ปี)กลับเข้ามารับราชการเป็นที่ปรึกษาส่วนพระองค์ ทรงโปรดเกล้าให้ทำราชการหลายหน้าที่ รวมทั้งหัวหน้าล่าม ราชเลขาธิการส่วนพระองค์ รวมทั้งเจ้ากรมพิพิธภัณฑ์สถานและสวนสราญรมย์และข้าหลวงผู้จัดการงานสร้างถนนและสะพาน
 
===การรับราชการ===