ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ช็อก"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
MuanN (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
MuanN (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 14:
| MeshNumber = D012769
}}
ภาวะ'''ช็อก''' ({{lang-en|shock, circulatory shock}}) เป็นภาวะทางการแพทย์ซึ่งอันตรายและ[[มีอันตรายถึงชีวิต]] เกิดขึ้นเมื่อ[[เนื้อเยื่อ]]ในร่างกายได้รับ[[ออกซิเจน]]ไม่เพียงพอต่อความต้องการ<ref>[1]. Courtney M. Townsend,SABISTON TEXTBOOK OF SURGERY,16TH EDITION,page no-381</ref> ในระยะแรกส่วนใหญ่ทำให้มีระดับออกซิเจนในเนื้อเยื่อต่างๆ ไม่เพียงพอ ทำให้เนื้อเยื่อเหล่านี้ทำงานได้ไม่ปกติ<ref name=Robbins>Kumar, Vinay; Abbas, Abul K.; Fausto, Nelson; & Mitchell, Richard N. (2007). ''Robbins Basic Pathology'' (8th ed.). Saunders Elsevier. pp. 102-103 ISBN 978-1-4160-2973-1</ref> ทั้งนี้เมื่อพิจารณาว่าการลำเลียงออกซิเจนและสารอาหารไปยังเซลล์และเนื้อเยื่อต่างๆ อาศัย[[เลือด]] การลดลงของการไหลของเลือดจึงทำให้การนำออกซิเจนและสารอาหารไปเลี้ยงเนื้อเยื่อและเซลล์ต่างๆ ลดลงไปด้วย จึงเป็นสาเหตุที่สำคัญสาเหตุหนึ่งของช็อก
 
ภาวะช็อกถือเป็น[[ภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์]] เป็นสาเหตุ[[การเสียชีวิต]]ที่สำคัญที่สุดสาเหตุหนึ่งในผู้ป่วยหนัก ผลของภาวะช็อกมีหลายอย่าง ทั้งหมดสัมพันธ์กับภาวะซึ่ง[[ระบบไหลเวียน]]ทำหน้าที่ได้ไม่เพียงพอ เช่น อาจทำให้มี[[ออกซิเจนในเลือดต่ำ]] หรือ[[หัวใจหยุดเต้น]]ได้<ref name="IrwinRippe">{{cite book |last= Irwin |first= Richard S. |coauthors= Rippe, James M. |title= [http://www.lww.com/product/?0-7817-3548-3 Intensive Care Medicine] |publisher= Lippincott Williams & Wilkins, Philadelphia & London |year= 2003 |month= January |isbn= 0-7817-3548-3}}</ref><ref name="Marino">{{cite book |last = Marino |first = Paul L. |title = [http://www.lww.com/product/?978-0-7817-4802-5 The ICU Book] |publisher = Lippincott Williams & Wilkins, Philadelphia & London |year = 2006 |month = September |isbn = 0-7817-4802-X}}</ref><ref name="FCCS">{{cite web|url=http://www.sccm.org/SCCM/FCCS+and+Training+Courses/FCCS/FCCSCourseAdmin.htm|title=Fundamental Critical Care Support, A standardized curriculum of Critical Care|publisher=Society of Critical Care Medicine, Des Plaines, Illinois}}</ref><ref name="InternalMedicine">{{cite book|url=http://books.mcgraw-hill.com/medical/harrisons/|title=Harrison's Principles of Internal Medicine}}</ref><ref>{{cite web|url=http://www.cecilmedicine.com/buy.cfm?book=goldman |title=Cecil Textbook of Medicine}}</ref><ref>{{cite book|url=http://www.oup.com/us/catalog/general/subject/Medicine/PrimaryCare/?ci=0192629220&view=usa|title=The Oxford Textbook of Medicine}}</ref><ref name="Overview">[http://www.surgicalcriticalcare.net/Lectures/shock_overview.pdf Shock: An Overview] [[PDF]] by Michael L. Cheatham, MD, Ernest F.J. Block, MD, Howard G. Smith, MD, John T. Promes, MD, Surgical Critical Care Service, Department of Surgical Education, [[Orlando Regional Medical Center]] [[Orlando, Florida|Orlando]], Florida</ref>
 
อาการแสดงที่สำคัญของภาวะช็อกคือ[[หัวใจเต้นเร็ว]] [[หายใจเร็ว]] ซึ่งเป็น[[conpensatory mechanism|กลไกตอบสนองทดแทนความบกพร่อง]]ของระบบไหลเวียน [[ความดันเลือดต่ำ]] และอาการแสดงของความไม่เพียงพอของ[[การกำซาบ]]ที่อวัยวะส่วนปลาย (ภาวะซึ่งอวัยวะต่างๆ ได้รับออกซิเจนไม่เพียงพอต่อความต้องการจนสูญเสียการทำงาน) เช่น [[ปัสสาวะออกน้อย]] ([[ไต]]ทำงานลดลง) [[สับสน]]หรือ[[ซึม]]ลง ([[สมอง]]ทำงานลดลง) เป็นต้น ทั้งนี้มีหลายภาวะที่ความดันเลือดของผู้ป่วยอาจปกติ แต่เนื้อเยื่อต่างๆ ยังได้รับออกซิเจนไม่เพียงพอต่อความต้องการ ถือว่าอยู่ในภาวะช็อก ดังนั้นผู้ป่วยช็อกไม่จำเป็นต้องมีความดันเลือดต่ำเสมอไป<ref name=Guyton>{{cite book |last1=Guyton |first1=Arthur |last2=Hall |first2=John |editor1-first=Rebecca |editor1-last=Gruliow |title=Textbook of Medical Physiology |format=Book |edition=11th |year=2006 |publisher=Elsevier Inc. |location=Philadelphia, Pennsylvania |language=English |isbn=0-7216-0240-1 |pages=278-288 |chapter=Chapter 24: Circulatory Shock and Physiology of Its Treatment}}</ref>
 
อันตรายอย่างหนึ่งของภาวะช็อกคือ[[กลไกป้อนกลับทางบวก]]ซึ่งเกิดขึ้นต่อเนื่องสามารถทำให้ภาวะช็อกที่เป็นอยู่แล้วนั้นแย่ลงไปอีกได้ เมื่อร่างกายเกิดภาวะช็อกขึ้นแล้วไม่ได้รับการรักษาที่เหมาะสมหรือทันเวลา มักจะแย่ลงไปเรื่อยๆ ดังนั้นการรักษาที่ทันท่วงทีจึงมีความสำคัญมาก<ref name=Guyton/>
 
ภาวะช็อกทางการแพทย์นั้นหมายถึงภาวะซึ่งเนื้อเยื่อได้รับออกซิเจนไม่เพียงพอดังกล่าว ซึ่งแตกต่างและไม่ควรสับสนกับ[[ปฏิกิริยาเฉียบพลันต่อความเครียด|ภาวะช็อกทางอารมณ์]] โดยภาวะทั้งสองไม่มีความสัมพันธ์กันโดยตรงแต่อย่างใด
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/ช็อก"