ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ดาวพลูโต"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Jedimaster (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Jedimaster (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 121:
นักดาราศาสตร์หลายคนมีความเห็นคัดค้านในเรื่องนี้ แต่ก็จำเป็นต้องยอมรับกับการที่มนุษย์ได้มีความรู้ในระบบสุริยะมากขึ้น ได้เห็นหลายสิ่งเพิ่มขึ้นจากอดีต
 
ดาวพลูโตอยู่ห่างไกลจากดวงอาทิตย์มากและได้รับแสงน้อย จึงมีอุณหภูมิต่ำมาก นักดาราศาสตร์จะได้ศึกษาดาวพลูโต และวัตถุในแถบไคเปอร์อย่างละเอียดในปี [[พ.ศ. 2558]] เมื่อยาน[[นิวฮอไรซันส์]]ของ[[นาซา]] ซึ่งถูกปล่อยเมื่อวันที่ [[19 มกราคม]] [[พ.ศ. 2549]] เดินทางไปถึงวงโคจรของดาวพลูโต ในเดือน[[กรกฎาคม]] [[พ.ศ. 2558]] ซึ่งยานจำเป็นต้องไปให้ทันเวลา เพื่อให้ทันต่อการศึกษาวิจัยดาวพลูโต เพราะหากเมื่อดาวพลูโตมีวงโคจรห่างไกลจากดวงอาทิตย์ ดาวพลูโตจะเข้าสู่ฤดูหนาวยาวนานถึง 62 ปัปี และจะทำให้บรรยากาศกลายเป็นน้ำแข็งและร่วงลงสู่ผิวดาว ทำให้ไม่สามารถวิจัยบรรยากาศของดาวที่แท้จริงได้ และจะทำให้เสียองค์ประกอบทางด้านเคมีที่สำคัญในการวิจัยไป รวมถึง อุณหภูมิ ลม และโครงสร้างบรรยากาศของดาวไปด้วย
 
== การจำแนกดาวพลูโตเป็นวัตถุกลุ่มพลูตอยด์ ==