ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เหล็กเส้น"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Dinamik-bot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.6.5) (โรบอต เพิ่ม: et:Sarrus
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 9:
# '''เหล็กข้ออ้อย''' SD30, SD40, SD50 มีกำลังรับแรงดึงที่จุดครากไม่น้อยกว่า 3000, 4000, 5000 ksc.ตามลำดับ โดยปกติจะมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง เช่น DB10(หาในตลาดทั่วไปยาก), DB12(หมายถึง Deformed Bar ขนาด ศก.12มม.), DB16, DB20, DB25, DB28, DB32 ผิวของเหล็กเส้นจะมีลักษณะเป็นปล้องเพื่อเพิ่มแรงยึดเหนี่ยวให้เหล็กกับคอนกรีตมากขึ้น
 
การเลือกใช้ชนิดของเหล็กเส้นข้ออ้อย SD30, SD40, และ SD50 ขึ้นอยู่กับชนิดของโครงสร้างเป็นสำคัญ
ความยาวโดยปกติที่ขายกันในท้องตลาด คือ 10 ม. แต่อาจจะสั่งพิเศษ เช่น 12 ม. หรือมากกว่านั้นก็ต้องสั่งทำพิเศษ
ลักษณะของเหล็กเ้ส้นข้ออ้อยที่ดี ต้องมีระยะบั้งที่เท่ากันและสม่ำเสมอตลอดทั้งเส้น ไม่มีสนิมรอยตำหนิ ไม่มีรอยปริและแตกร้าว <ref>http://www.copkogroup.com/knowledge-1-th.html ชนิดและความแตกต่างของเหล็กเส้น</ref> ความยาวโดยปกติที่ขายกันในท้องตลาด คือ 10 ม. แต่อาจจะสั่งพิเศษ เช่น 12 ม. หรือมากกว่านั้นก็ต้องสั่งทำพิเศษ
 
== มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (ม.อ.ก.) ==
* [http://library.tisi.go.th/multim/TIS/TIS-20-2543m.pdf เหล็กเส้นเสริมคอนกรีต : เหล็กเส้นกลม (มอก.20-2543)]
* [http://library.tisi.go.th/multim/TIS/TIS-24-2548m.pdf เหล็กเส้นเสริมคอนกรีต : เหล็กข้ออ้อย (มอก.24-2548)]
 
 
 
ลวดผูกเหล็ก-มีสีดำ ขนาดเดียว คือเบอร์18 เส้นผ่าศูนย์กลาง 1.24 mm. ต้านทานแรงดึงสูงสุด 3000ksc ทนการบิดได้อย่างน้อย 75 รอบ
 
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
 
[[หมวดหมู่:เหล็ก|หเล็กสเน]]