ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ภาษาเซี่ยงไฮ้"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Saeng Petchchai (คุย | ส่วนร่วม)
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
translate
บรรทัด 1:
{{ยังไม่ได้แปล}}
{{กล่องข้อมูล ภาษา
|name=ภาษาจีนเซี่ยงไฮ้
เส้น 14 ⟶ 15:
|linglist=wuu-sha
}}
'''ภาษาจีนเซี่ยงไฮ้''' (上海閒話 {{IPA|[z̥ɑ̃̀héɦɛ̀ɦʊ̀]}} ในภาษาจีนเซี่ยงไฮ้) หรือ '''ภาษาเซี่ยงไฮ้''' ({{zh|s=上海话 orหรือ 沪语|t=上海話 orหรือ 滬語}})หรือบางครั้งเรียกสำเนียงเซี่ยงไฮ้เป็นสำเนียงของ[[ภาษาจีนอู๋]]ที่ใช้พูดในเมือง[[เซี่ยงไฮ้]]และบริเวณโดยรอบจัดอยู่ในตระกูลภาษาจีน-ทิเบต ภาษาเซี่ยงไฮ้เป็นเช่นเดียวกับสำเนียงอื่นๆอื่น ๆ ของภาษาจีนอู๋คือสามารถเข้าใจกันได้กับภาษาจีนสำเนียงอื่นๆอื่น ๆ น้อยมากโดยเฉพาะ[[ภาษาจีนกลาง]] หรือแม้แต่กับสำเนียงย่อยอื่นๆของภาษาจีนอู๋
 
ภาษาเซี่ยงไฮ้เป็นตัวแทนของภาษาจีนอู๋ทางเหนือ (บริเวณทางใต้ของ[[เจียงซู]]และทางเหนือของ[[เซเจียง]]) มีผู้พูดเกือบ 14 ล้านคน จัดเป็นสำเนียงที่มีผู้พูดมากที่สุดในบรรดาสำเนียงของภาษาจีนอู๋ทั้งหมด ในเอกสารทางตะวันตก คำว่าภาษาเซี่ยงไฮ้หมายถึงภาษาจีนอู๋ทั้งหมดโดยไม่ได้เน้นเฉพาะสำเนียงของภาษาจีนอู๋ที่ใช้พูดในเซี่ยงไฮ้
==สัทวิทยา==
===พยัญชนะ===
เส้น 217 ⟶ 219:
| {{IPA|aʔ˨˧}} = {{IPA|ǎʔ}} (12ʔ)
|}
 
== การเมืองของภาษา ==
ภาษาเซี่ยงไฮ้ไม่มีการสอนในโรงเรียน ไม่ได้ใช้ในการตีพิมพ์หนังสือพิมพ์และมีการควบคุมการใช้ในสื่อออกอากาศ ทำให้ผู้ดำเนินรายการไม่เสี่ยงที่จะใช้ภาษาเซี่ยงไฮ้ รายการทางโทรทัศน์ที่ใช้ภาษาเซี่ยงไฮ้เริ่มมีหลัง พ.ศ. 2533 แต่เป็นจำนวนน้อย ชาวเซี่ยงไฮ้ในชนบทที่อายุมากยังฟังวิทยุภาษาเซี่ยงไฮ้ อย่างไรก็ตาม รัฐบาลได้รณรงค์ให้ใช้ภาษาจีนกลางมากขึ้น เช่น คำขวัญที่ว่า "เป็นคนเซี่ยงไฮ้สมัยใหม่ พูดภาษาจีนกลาง"
เส้น 466 ⟶ 469:
*[http://wu-chinese.com Wu Association]
*[http://www.omniglot.com/writing/shanghainese.htm Romanization of Shanghainese at Omniglot]
 
[[หมวดหมู่:ภาษาในประเทศจีน]]
[[หมวดหมู่:ภาษาจีน]]