ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ขุนรองปลัดชู"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Poonyo (คุย | ส่วนร่วม)
จัดรูปแบบ
→‎บันทึกในพงศาวดาร: การจัดความกว้างไม่ต้อง ควรเผื่อสำหรับคนอ่านในจอเล็กด้วย
บรรทัด 13:
เรื่องราวของขุนรองปลัดชูมีกล่าวถึงในพระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยาเพียงสั้นๆ ดังนี้ (ในที่นี้เน้นด้วยการขีดเส้นใต้)
 
{{คำพูด|ฝ่ายพระเจ้าอยู่หัวได้ตรัสทราบนั้นแล้ว จึงดำรัสให้พระยายมราชเป็นทัพหน้า พลทหาร ๓๐๐๐ ทัพหนึ่ง ให้พระยาธารมาถืออาญาเป็นแม่ทัพ พลทหาร ๒๐๐๐ ยกไปตั้งเมืองกุยบุรี <u>พะม่ายกขึ้นมาตีทัพพระยาราชณแกงตุมแตก พระยาธารมาจึงเกณฑ์ไพร่ ๕๐๐ เข้าบรรจบกองปลัดชู แล้วให้ยกไปตั้งตำบลว่าขาวริมทะเล ฝ่ายทัพหน้าพะม่ายกขึ้นมาตี กองปลัดชูก็แตกพ่าย</u> พระเจ้าอังวะจึงดำเนินทัพเข้ามาณเมืองกุย เมืองปราณ เมืองเพ็ชรบุรี เมืองราชบุรี|[[:s:ประชุมพงศาวดาร ภาคที่ ๖๔|พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม)]]<ref name="พันจันทนุมาศ">ศิลปากร, กรม. '''ประชุมพงศาวดารภาคที่ 64 พงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม).''' เจ้าภาพพิมพ์ในงานปลงศพ คุณหญิงปฏิภานพิเศษ (ลมุน อมาตยกุล) ณ วัดประยุรวงศาวาส วันที่ 9 มีนาคม พ.ศ. 2479. พระนคร: โรงพิมพ์โสภณพิพรรฒธนาการ, 2479, หน้า 425.</ref>|align=left|width=900px}}
 
{{คำพูด|ครั้นทรงทราบว่าทางมะริดพม่ายกมามาก ก็ให้พระยายมราชเป็นแม่ทัพหน้า คุมพล ๒๐๐๐๐ ให้พระยาธรมาถืออาชญาสิทธิ์เป็นแม่ทัพ พลทหาร ๓๐๐๐ ยกเพิ่มเติมไปตั้ง ณ เมืองกุยบุรี <u>พม่ายกขึ้นมาตีทัพพระยายมราช ณ แก่งตุ่มแตก แล้วยกแยกไปตีกองปลัดชู ซึ่งตั้งอยู่ตำบลอ่าวขาวริมทะเล จึ่งแบ่งไพร่ ๕๐๐ ไปช่วยกองปลัดชู รบกันอยู่ประมาณกึ่งวัน กองปลัดชูก็แตกพ่ายมา</u> พระเจ้าอังวะก็ดำเนินทัพเข้ามา ณ แขวงเมืองกุยบุรี เมืองปรานบุรี|[[:s:พระราชพงศาวดารกรุงสยามฉบับบริติชมิวเซียม หน้าที่ ๓๗๑-๗๔๓|พระราชพงศาวดารกรุงสยาม ฉบับบริติชมิวเซียม]]<ref name="บริติชมิวเซียม">ศิลปากร, กรม. '''พระราชพงศาวดารกรุงสยาม จากต้นฉบับที่เป็นสมบัติของบริติชมิวเซียมกรุงลอนดอน.''' นายมนตรี อมาตยกุล หัวหน้ากองวรรณคดีและประวัติศาสตร์ กรมศิลปากร ตรวจสอบและทำเชิงอรรถ. พระนคร: สำนักพิมพ์ก้าวหน้า, 2507, หน้า 622.</ref>|align=left|width=900px}}
{{clear}}