ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สหภาพเคมีบริสุทธิ์และเคมีประยุกต์ระหว่างประเทศ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 7:
== ระบบการเรียกชื่อสารเคมี ==
{{บทความหลัก|ระบบการเรียกชื่อสารเคมีของ IUPAC}}
คณะกรรมการ IUPAC มีประวัติยาวนานในการตั้งชื่ออย่างเป็นทางการของ[[สารประกอบอินทรีย์]]และ[[สารอนินทรีย์|อนินทรีย์]] ระบบการตั้งชื่อได้ถูกพัฒนาขึ้นเพื่อที่ว่าสารประกอบใด ๆ จะสามารถเรียกชื่อได้ภายใต้กฎมาตรฐานเดียวกันเพื่อหลีกเลี่ยงชื่อซ้ำกัน ผลงานตีพิมพ์แรก ซึ่งเป็นข้อมูลจากสภาเคมีประยุกต์ระหว่างประเทศ ว่าด้วยระบบการเรียกชื่อสารประกอบอินทรีย์ของ IUPAC สามารถพบได้ตั้งแต่ช่วงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 ในหนังสือ ''A Guide to IUPAC Nomenclature of Organic Compounds''
 
=== ระบบการเรียกชื่อสารอินทรีย์ ===
ระบบการเรียกชื่อสารอินทรีย์ของ IUPAC นั้นแบ่งออกเป็นสามส่วหลัก ได้แก่ [[หมู่แทนที่]] ความยาวโซ่คาร์บอนและชื่อเคมีลงท้าย<ref name="Chemistry The Central Science"/> หมู่แทนที่หมายถึง[[หมู่ฟังก์ชัน]]ใด ๆ ที่เกาะเข้ากับโซ่คาร์บอนหลัก โซ่คาร์บอนหลักเป็นโซ่ที่ประกอบด้วย[[คาร์บอน]]เกาะกันเป็นแถวที่ยาวที่สุดที่เป็นไปได้ ส่วนชื่อเคมีลงท้ายเป็นการระบุว่าโมเลกุลของสารนั้นเป็นประเภทใด ยกตัวอย่างเช่น ชื่อลงท้าย "เอน" หมายความว่า ในโซ่คาร์บอนนั้นเกาะกันด้วยพันธะเดี่ยวทั้งหมด เช่นใน "เฮกเซน" (C<sub>6</sub>H<sub>14</sub>)<ref name="Organic Chemistry I As a Second Language: Translating the Basic Concepts">{{Cite book|last= Klein |first= David R. |title= Organic Chemistry I As a Second Language: Translating the Basic Concepts Second Edition |publisher= John Wiley & Sons Inc. |year= 2008 |isbn=978-0470-12929-6}}</ref>
 
อีกตัวอย่างหนึ่งของระบบการเรียกชื่อสารอินทรีย์ของ IUPAC คือ ไซโคลเฮกซานอล