ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ไซท์ไกสท์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Pickypoko (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Pickypoko (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 3:
'''ไซท์ไกสท์''' ({{lang-de|Zeitgeist}} {{IPA|[ˈtsaɪtɡaɪst]}}) หมายถึงบรรยากาศทางภูมิปัญญาหรือทางวัฒนธรรมของยุคสมัย คำว่าไซท์ไกสท์เป็นคำภาษาเยอรมัน แปลตามตัวคือ ''เวลา'' (Zeit) และ ''จิตวิญญาณ'' (Geist)
ในภาษาไทยอาจแปลได้ว่า "จิตวิญญาณแห่งยุคสมัย" หรือ "จิตวิญญาณแห่งกาลเวลา"<ref name="sikkha">sikkha, [http://www.palawat.com/p/?L=blogs.blog&article=30 น่าเป็นห่วงอนาคตของเด็กไทย], www.palawat.com, 3 มกราคม พ.ศ. 2551</ref><ref name="">[http://prachatai.com/05web/th/home/10789 คนไทยนิยมบันเทิงเริงใจ กูเกิล เผยคำค้นยอดฮิตปี 50], ประชาไท, 6 มกราคม พ.ศ. 2551</ref> คำนี้ถูกใช้ในภาษาเยอรมันครั้งแรกใน ค.ศ. 1769 โดย [[โยฮันน์ แฮร์เดอร์]]ผู้เป็นทั้งนักกวี และ นักปรัญชา ในงานประพันธ์ของเราที่มีชื่อว่า Kritische Wälder oder Betrachtungen, die Wissenschaft และ Kunst des Schänen betreffend, nach Maßgabe neuerer Schriftenในฐานะคำแปลของ ''genius seculi'' ([[ภาษาละติน|ละติน]]: ''genius'' - "วิญญาณผู้พิทักษ์" และ ''saeculi'' - "แห่งศตวรรษ")
 
การใช้อย่างแพร่พลายของคำว่า "Geist der Zeiten" และ "Zeitgeist" จะถูกนำมาใช้ในช่วงหลังการปฏิวัติฝรั่งเศส และ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในช่วง Vormarz
 
นอกจากนี้ โยฮัน โวฟกัง ฟอน เกอเธ่ท์ ยังได้ใช้คำว่า "Geist den Zeiten"ในบทละครเรื่อง Faust(งานประพันธ์ในลักษณะ Sturm und Drang)
"Was ihr den Geist der Zeiten heisst,
Das ist im Grund der Herrn eigner Geist,
In dem die Zeiten sich bespiegeln" เป็นตัน
 
ในภาษาเยอรมันคำ ๆ นี้มีชั้นของความหมายมากกว่าที่แปลไปเป็นภาษาอื่น (เช่นในภาษาอังกฤษ) ซึ่งรวมถึงข้อเท็จจริงที่ว่า ไซท์ไกสท์นั้นจะพิจารณาได้จากเหตุการณ์ในอดีตเท่านั้น