ผลต่างระหว่างรุ่นของ "นวดารา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Tony Patt (คุย | ส่วนร่วม)
Tony Patt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 6:
ถ้าดาวเคราะขาวมีคู่ที่อยู่ใกล้มันมากเกินไปหรือเกยเข้ามาใน[[ขอบเขตโรช]]ของมัน ดาวแคระขาวก็จะเริ่มดึงมวลจากคู่ของมันแล้ว คู่ของมันอาจเป็นดาวใน[[แถบลำดับหลัก]]หรือเป็นดาวอายุมากที่ใกล้สิ้นสุดอายุขัยและกำลังกลายเป็น[[ดาวยักษ์แดง]]ก็ได้ ก๊าซที่ถูกดึงมาส่วนใหญ่ประกอบไบด้วย[[ไฮโดรเจน]]และ[[ฮีเลียม]]ซึ่งเป็น 2 [[ธาตุ]]หลักในส่วนประกอบ[[แบริออน|สสารธรรมดา]]ใน[[จักรวาล]] ก๊าซที่ถูกดูดมาถูกอัดแน่นบนพื้นผิวของดาวแคระขาวโดยแรงโน้มถ่วงที่รุนแรงของมัน [[สสาร]]ที่ดาวแคระขาวดูดมาถูกบีบอัดและเพิ่มความร้อนจนอุณหภูมิสูงมากในขณะที่สสารกำลังถูกดูดออกมาจากดาวอย่างต่อเนื่อง ดาวแคระขาวประกอบไปด้วย[[สสารเสื่อม]] และจึงไม่พองตัวเมื่อความร้อนเพิ่มในขณะที่ไฮโดรเจนที่ถูกดูดมาถูกบีบอัดบนพื้นผิวของดาว การที่ต้องพึ่ง[[แรงอัด]]และอุณหภุมิในอัตราความเร็ว[[ไฮโดรเจนฟิวชั่น]]หมายความว่าเมื่อมีการบีบอัดและความร้อนที่พื้นผิวดาวแคระขาวกับอุณหภูมิประมาณ 20 ล้านเคลวินว่าปฏิกิริยานิวเคลียร์ฟิวชั่นเกิดขึ้น และอุณหภูมินี้สามารถถูกเผาไหม้ผ่าน[[วงจรซีเอ็นโอ]]
 
== การใช้วัดระยะห่าง ==
[[ไฟล์:Nova-Eridani-2009-LB4.jpg|thumb|250px|[[โนวา แม่น้ำ 2009]] ([[โชติมาตรปรากฏ]]ประมาณ +8.4) ในคืนเดือนเพ็ญ]]
โนวาสามารถใช้เป็นเครื่องวัด[[บันไดระยะห่างของจักรวาล|เทียนมาตรฐาน]]ได้ ตัวอย่างเช่นการแจกจ่ายของ[[โชติมาตรสัมบูรณ์]]เป็นแบบ[[การแจกแจงทวิฐานนิยม|ทวิฐานนิยม]] กับโชติมาตรสูงสุดโดยปกติอยู่ระหว่าง −7.5 ถึง −8.8
 
=== โนวาซ้ำ ===
มีการค้นพบ'''โนวาซ้ำ''' ({{lang-en|Recurrent nova}}) ที่อยู่ใน[[ดาราจักร]] อยู่ประมาณ 10 แห่ง<ref name=Schaefer2009>{{cite journal
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/นวดารา"