ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ศาสนาพุทธในประเทศจีน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Amirobot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.7.1) (โรบอต เพิ่ม: ko:중국의 불교
Xqbot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต เพิ่ม: bo:རྒྱ་ནག་གི་ནང་ཆོས།; ปรับแต่งให้อ่านง่าย
บรรทัด 18:
ใน [[พ.ศ. 2455]] ประเทศจีนได้เปลี่ยน ชื่อ ประเทศเป็นสาธารณรัฐจีน รัฐบาลไม่ได้สนับสนุนในพระพุทธศาสนา แต่สนับสนุนแนวความคิดของ[[ลัทธิมาร์กซิสต์]] ซึ่งลัทธิดังกล่าว ได้โจมตี[[พระพุทธศาสนา]]ตลอดมา และมีการกระทำที่เป็นปฏิปักษ์ต่อ[[พระพุทธศาสนา]]มากขึ้นโดยเอา[[วัด]]ไปใช้เป็นสถานที่ราชการอื่นๆ สถานการณ์ของ[[พระพุทธศาสนา]]จึงยังไม่ดีขึ้น
 
ใน [[พ.ศ. 2465]] พระสงฆ์ชาวจีนรูปหนึ่ง ชื่อว่า [[พระอาจารย์ไท้สู]] ได้ช่วยกู้ฐานะของ[[พระพุทธศาสนา]]ไว้บางส่วนคือ ท่านได้ทำการปฏิรูปพระพุทธศาสนาอย่างจริงจัง แม้จะมีกำลังน้อย เริ่มด้วยการตั้งวิทยาลัยสงฆ์ขึ้นที่ [[วูซัน]] [[เอ้หมิง]] [[เสฉวน]] และ [[หลิ่งนาน]] เพื่อฝึกผู้นำทางพระพุทธศาสนาให้มีความรู้ทางพระธรรมวินัยและวิชาการทางโลกสมัยใหม่ และนำมาเผยแผ่เพื่อให้เกิดประโยชน์ต่อสังคม จนผู้คนเลื่อมใสมากขึ้น จึงตั้ง[[พุทธสมาคมแห่งประเทศจีน]]ขึ้น
 
ใน [[พ.ศ. 2472]] ความพยายามของ[[พระอาจารย์ไท้สู]] ทำให้ประชาชนและ[[รัฐบาล]]เข้าใจใน[[พระพุทธศาสนา]]ดีขึ้น ทางราชการได้ออกคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์สินของวัดห้ามนำไปใช้ในกิจการอื่น
บรรทัด 40:
== พุทธศาสนาเถรวาทในจีน ==
ในประเทศจีน มีผู้นับถือพุทธศาสนาแบบ[[เถรวาท]]เฉพาะใน[[มณฑลยูนนาน]] ซึ่งโดยทั่วไปเป็นชนกลุ่มน้อย[[ชาวไทลื้อ]]และ[[ชาวไทใหญ่]]
=== พุทธศาสนาในสิบสองปันนา ===
พุทธศาสนาใน[[สิบสองปันนา]]เป็นพุทธศาสนาเถรวาทลัทธิลังกาวงศ์ โดยได้รับอิทธิพลจาก[[อาณาจักรล้านนา]]หรือ[[เชียงใหม่]]ในปัจจุบัน แบ่งเป็น 2 นิกายเช่นเดียวกับพุทธศาสนาในเชียงใหม่คือ <ref>เจีย แยนจอง. พุทธศาสนากับวิถีชีวิตชาวพุทธไทลื้อในสิบสองพันนา ใน คนไทไม่ใช่ไทย แต่เป็นเครือญาติชาติภาษา. กทม. มติชน. 2549. หน้า 233</ref>
* สำนักวัดสวนดอกหรือฝ่ายสวน ตั้งที่เชียงใหม่เมื่อ พ.ศ. 1914 แต่เข้าสู่สิบสองปันนาเมื่อใดไม่มีหลักฐาน
* สำนักวัดป่าแดงหรือฝ่ายป่า ตั้งขึ้นที่เชียงใหม่เมื่อราว พ.ศ. 1973 โดยคณะสงฆ์ที่ไปบวชเรียนมาใหม่จาก[[ศรีลังกา|ลังกา]] ถือวินัยเคร่งครัดกว่าฝ่ายสวน เผยแพร่เข้าสู่สิบสองปันนาเมื่อ พ.ศ. 1989 โดยผ่านทาง[[เชียงตุง]]
=== พุทธศาสนาในเขตปกครองตนเองไทใต้คง ===
พุทธศาสนาแพร่เข้าสู่[[เขตปกครองตนเองไทใต้คง]]เมื่อราวพุทธศตวรรษที่ 19-20 แบ่งออกเป็น 4 นิกายคือ
* นิกายปายจอง เป็นนิกายที่แพร่เข้ามาก่อนนิกายอื่น ไม่เคร่งวินัย [[ภิกษุ]]เลี้ยงสัตว์เลี้ยง เช่น เป็ด ไก่ ได้
* นิกายกึงโยน เป็นนิกายที่แพร่เข้าสู่[[เมืองขอน]]เมื่อราวพุทธศตวรรษที่ 20 ได้รับอิทธิพลจาก[[เชียงใหม่]] มีการแบ่งย่อยเป็นโยนสวนกับโยนป่าเหมือนในเมืองเชียงใหม่ เขียนคัมภีร์ด้วย[[อักษรล้านนา]]
บรรทัด 55:
<references />
* หนังสือศาสนา ศีลธรรม และจริยธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 สถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ สำนักพิมพ์ บริษัทพัฒนาคุณภาพวิชาการ จำกัด
== ดูเพิ่ม ==
* [[เซน]]
* [[ลัทธิขงจื๊อ]]
* [[ลัทธิเต๋า]]
* [[พุทธศาสนาในทิเบต]]
* [[พุทธศาสนาในซินเจียงอุยกูร์ และเอเชียกลาง]]
 
 
[[หมวดหมู่:ประวัติศาสตร์ศาสนาพุทธ]]
เส้น 67 ⟶ 66:
[[หมวดหมู่:ประเทศจีน]]
 
[[bo:རྒྱ་ནག་གི་ནང་ཆོས།]]
[[cs:Buddhismus v Číně]]
[[de:Buddhismus in China]]