ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กลูตาเมต"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Weerapong rx (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Weerapong rx (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
[[Image:L-glutamic-acid-skeletal.png|thumb|โครงสร้างทางเคมีของกรดกลูตามิค]]
 
'''กลูตาเมต''' หรือ '''กรดกลูตามิค''' เป็น[[กรดอะมิโน]]ชนิดที่พบมากที่สุดใน[[โปรตีน]]ตามธรรมชาติ กรดกลูตามิคจัดเป็นกรา[[กรดอะมิโนชนิดที่ไม่จำเป็น]] ในทางเคมีนั้นกลูตาเมตเป็นไอออนลบของกรดกลูตามิก
 
==โครงสร้าง==
โครงสร้างทางเคมีของกรดกลูตามิกมี[[หมู่คาร์บอกซิลิก]]สองหมู่และ[[หมู่อะมิโน]]หนึ่งหมู่ การที่กรดกลูตามิกมีหมู่คาร์บอกซิลิกมากกว่ากรดอะมิโนทั่วไปจึงทำให้มีคุณสมบัติเป็นกรด โดยใน[[ค่าพี่เอช]]ที่เป็นกลางหมู่ฟังก์ชันเหล่านี้แตกตัวเป็นไอออนทั้งหมดทำให้ประจุสุทธิเป็น -1
==หน้าที่==
กลูตาเมตเป็นสารที่มีความสำคัญต่อวิถีการสันดาปโดยเฉพาะในปฏิกิริยาทรานส์อะมิเนชั่น (transamiation)ที่มีการเคลื่อนย้าย[[หมู่อะมิโน]]ของ[[กรดอะมิโน]]ไปยัง[[กรดแอลฟาคีโต]]ซึ่งเอนไซม์ที่เร่งปฏิกิริยานี้ คือ เอนไซม์ทรานส์อะมิเนส (transaminase)
บรรทัด 11:
 
==แหล่งอาหารและการดูดซึม==
กรดกลูตามิกมีอยู่ในอาหารมากมายหลายชนิด เกลือโซเดียมกลูตาเมต (มอนอโซเดียมกลูตาเมตเป็นสารปรุงแต่งที่อยู่ใน[[ผงชูรส]]) ทำหน้าที่ให้รสชาติที่ชื่อว่า รส[[อูมามิ]] หรือ รสกลมกล่อม โดยกระตุ้นตัวรับที่[[ต่อมรับรส]]ที่อยู่บน[[ลิ้น]] กรดกลูตามิกประมาณร้อยละ 95 จะเกิดการ[[สันดาป]]ที่เซลล์ใน[[ลำไส้เล็ก]]
 
==เภสัชวิทยา==