ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สเปรย์ละอองลอย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Taweetham (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 12:
ของเหลวที่ผสมดังกล่าว เช่น [[ยาฆ่าแมลง]], [[ยาดับกลิ่น]] และ[[สี]]สเปรย์
[[เครื่องมือฉีดพ่นทางการเกษตร]] ก็ใช้หลักการคล้ายกันนี้ คือเพิ่มกำลังกดอากาศด้วยมือสูบ ซึ่งให้ผลดีกว่า สเปรย์ละอองลอย ซึ่งใช้เพียงแก๊สที่เก็บอัดไว้
 
 
== ประวัติ ==
เส้น 25 ⟶ 24:
เมื่อ [[พ.ศ. 2491]] (1948) บริษัท 3 แห่งได้รับอนุญาตทางสิทธิบัตรโดยรัฐบาลสหรัฐอเมริกาให้สามารถผลิต สเปรย์ละอองลอย ซึ่ง 2 แห่งนั้นยังคงผลิตจนทุกวันนี้ คือ Chase Products Company และ Claire Manufacturing
'''ลิ้นจีบ (crimp-on valve)''' ที่ใช้ควบคุมการฉีดพ่นถูกพัฒนาขึ้นเมื่อ [[พ.ศ. 2492]] (1949) โดย โรเบิร์ต ฮ. แอบพลานาล์พ (Robert H. Abplanalp]]) เจ้าของห้างเครื่องจักร บรอนซ์ (Bronx)
 
 
== กำลังขับดัน ==
เส้น 42 ⟶ 40:
[[ไนตรัสออกไซด์]] และ [[คาร์บอนไดออกไซด์]] ใช้เป็นสารขับดัน สำหรับบรรจุภัณฑ์อาหาร เช่น [[วิปครีม]] ฯลฯ
ละอองลอยที่ใช้กับยา เช่น เครื่องฉีดพ่นบรรเทาอาการ[[โรคหืด]] ฯลฯ ใช้ ไฮโดรฟลูออโรอัลเคน (HFA) ซึ่งอาจเป็น HFA 134a (1,1,1,2 - เตตระฟลูออโรอีเทน) หรือ HFA 227 (1,1,1,2,3,3,3 - เฮปตะฟลูออโรโพรเพน) หรือของผสมของสารทั้งสอง
 
 
== การบรรจุ ==
เส้น 58 ⟶ 55:
* ปุ่มและก้านเป็นชิ้นส่วนที่เคลื่อนไหว เมื่อผู้ใช้กดลง จะทำให้ลิ้นเปิด และผลิตภัณฑ์ภายในจะฉ๊ดพ่นออกมา
รูปร่างและขนาดของปลายท่อในชิ้นส่วนเคลื่อนไหว เป็นตัวควบคุมการกระจายตัวของการฉีดพ่นละอองลอย
 
 
== ผลต่อสุขภาพ ==
เส้น 64 ⟶ 60:
* การเจตนาสูดดม อาจเป็นอันตรายจากสารขับดัน
* การบรรจุอนุภาคอันตรายต่อ[[ระบบทางเดินหายใจ]]
 
 
== อ้างอิง ==
เส้น 78 ⟶ 73:
** [[โอโซน]]
 
[[หมวดหมู่:Containersอุปกรณ์]]
[[หมวดหมู่:Norwegian inventions]]
 
[[ca:Esprai]]