ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ยานลงดวงจันทร์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Bbank1 (คุย | ส่วนร่วม)
หน้าใหม่: '''ส่วนลงดวงจันทร์ของโครงการอะพอลโล่''' หรือ '''Apollo Lunaar Module (LM''') เป็นส่ว...
 
Tinuviel (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
'''ส่วนลงดวงจันทร์ของโครงการอะพอลโล่''' หรือ '''({{lang-en|Apollo LunaarLunar Module}}; (LM''') เป็นส่วนลงจอดของ[[ยานอวกาศอะพอลโล่อะพอลโล]]สร้างโดยบริษัท กรัมเมน เพื่อ[[โครงการอะพอลโล่อะพอลโล]]ในการขนส่งนักบินอวกาศไปและกลับจากพื้นผิวของ[[ดวงจันทร์]] โดยระหว่างปี ค.ศ. 1969–1972 ได้มีการลงจอดบนดวงจันทร์โดยยานประเภทนี้ 6 ครั้ง
 
ส่วนลงดวงจันทร์หรือ LM ประกอบไปด้วยส่วนสำหรับลงจอด และ ส่วนสำหรับกลับยานแม่ จะถูกนำไปสู่วงโคจรของดวงจันทร์โดยส่วนควบคุมและบริการ (Command/Service Module) ซึ่งเป็นยานอวกาศแยกต่างหากที่ทำหน้าที่ขนส่งไปและกลับจากโลกสู่ดวงจันทร์ โดยเมื่อสิ้นสุดภารกิจแล้ว ส่วนลงดวงจันทร์จะถูกปล่อยทิ้งไว้ในอวกาศ เนื่องจากถูกออกแบบสำหรับการใช้งานในอวกาศเท่านั้น จึงมีโครงสร้างและสรีระทางอากาศพลศาสตร์ที่ไม่เหมาะสมในการเดินทางหลับสู่บรรยากาศโลกโดยปลอดภัย
 
แม้ว่าจะปรสบประสบปัญหาล่าช้าหลายครั้งระหว่างขั้นตอนพัฒนา ส่วนลงดวงจันทร์ของโครงการอะพอลโล่ก็ได้กลายเป็นส่วนที่พิสูจน์แล้วว่าเชื่อถือได้มากที่สุดของระบบยานอวกาศอะพอลโล่-เซตเทิรน โดยไม่เคยประสบความล้มเหลวระหว่างการปฎิบัติงานที่ส่งผลกระทบต่อภารกิจเลยแม้แต่ครั้งเดียว และหนึ่งในยานรุ่นนี้ LM-7 Aquarius ก็ได้พิสูจน์แล้วว่ามีศักยภาพเกินกว่าสภาวะที่ได้ออกแบบไว้ หลังจากถูกใช้เป็นยานฉุกเฉินในการเดินทางจากดวงจันทร์สู่โลกได้สำเร็จในโครงการอะพอลโล่ 13
 
[[หมวดหมู่:การสำรวจดวงจันทร์]]
[[หมวดหมู่:โครงการอะพอลโล]]
{{โครงอวกาศ}}
 
[[en:Apollo Lunar Module]]