ผลต่างระหว่างรุ่นของ "แผนที่ธรณีวิทยาประเทศไทย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Manop (คุย | ส่วนร่วม)
Manop (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
[[ไฟล์:geologic.jpg|thumb|right|[[แผนที่ธรณีวิทยาประเทศไทย มาตราส่วน 1:2,500,000|แผนที่ธรณีวิทยาประเทศไทย มาตราส่วนจัดทำโดย 1:2,500,000]] จากเว็บไซต์ของ[[กรมทรัพยากรธรณี]] [[กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม]]]]
 
การจัดทำ'''แผนที่ธรณีวิทยาประเทศไทย''' ให้เป็น[[แผนที่ธรณีวิทยา]]ครอบคลุมทุกพื้นที่ทั่วประเทศไทย จัดว่าเป็นส่วนหนึ่งของภารกิจสำคัญของทำและปรับปรุงโดย[[กรมทรัพยากรธรณี]]ตั้งแต่ในอดีตจนถึงปัจจุบัน ที่สังกัดอยู่กับ[[กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม]] โดยแผนที่ที่นิยมคือ แผนที่ธรณีวิทยาประเทศไทย มาตราส่วน 1:50,000 และ มาตราส่วน 1:4000
 
ในปัจจุบันแผนที่มาตราส่วน 1:4000 เป็นมาตราส่วนที่ละเอียดที่สุดที่จัดทำ แต่ทว่าใน[[กรุงเทพมหานคร]]ได้มีการวางแผนจัดทำแผนที่ มาตราส่วน 1:1000 ในปี พ.ศ. 2554<ref>[http://www.naewna.com/news.asp?ID=232259 กทม.แจง“GIS”เจ้าปัญหาเมื่อเมืองเปลี่ยนต้องทำใหม่ มาตราส่วนละเอียดกว่าเดิมสอดคล้องกับสังคมปัจจุบัน]</ref>
แต่เดิมในช่วงที่วงการวิชาการด้าน[[ธรณีวิทยา]]ใน[[ประเทศไทย]]ยังไม่เป็นที่แพร่หลาย และนักธรณีวิทยาในประเทศไทยยังกำลังคนน้อยและไม่มีประสบการณ์ในการทำแผนที่ธรณีวิทยามากนัก เนื่องจากสาขาวิชาธรณีวิทยาในขณะนั้น จัดว่าเป็นสาขาวิชาขาดแคลนและที่ไม่เป็นที่รู้จักแพร่หลายในประเทศไทยเรา กรมทรัพยากรธรณีจึงได้ว่าจ้างและได้รับการสนับสนุนจากชาวต่างชาติมาช่วยในการสำรวจและจัดทำแผนที่ธรณีวิทยา ซึ่งต่อมาแผนที่เหล่านั้นกลายเป็นมาตรฐานและแบบอย่างให้นักธรณีวิทยาของประเทศไทย และแผนที่ธรณีวิทยาประเทศไทยฉบับล่าสุดที่ได้รับการแก้ไข ปรับปรุง และตีพิมพ์ออกมาให้หน่วยงานราชการและประชาชนทั่วไปได้นำไปใช้ประโยชน์ ได้แก่ '''แผนที่ธรณีวิทยาประเทศไทย มาตราส่วน 1:2,500,000''' จัดทำโดย[[กรมทรัพยากรธรณี]] [[กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม]] เมื่อปี [[พ.ศ. 2542]]
 
== ประวัติ ==
แต่เดิมในช่วงที่วงการวิชาการด้าน[[ธรณีวิทยา]]ใน[[ประเทศไทย]]ยังไม่เป็นที่แพร่หลาย และนักธรณีวิทยาในประเทศไทยยังกำลังคนน้อยและไม่มีประสบการณ์ในการทำแผนที่ธรณีวิทยามากนัก เนื่องจากสาขาวิชาธรณีวิทยาในขณะนั้น จัดว่าเป็นสาขาวิชาขาดแคลนและที่ไม่เป็นที่รู้จักแพร่หลายในประเทศไทยเรา กรมทรัพยากรธรณีจึงได้ว่าจ้างและได้รับการสนับสนุนจากชาวต่างชาติมาช่วยในการสำรวจและจัดทำแผนที่ธรณีวิทยา ซึ่งต่อมาแผนที่เหล่านั้นกลายเป็นมาตรฐานและแบบอย่างให้นักธรณีวิทยาของประเทศไทย และแผนที่ธรณีวิทยาประเทศไทยฉบับล่าสุดที่ได้รับการแก้ไข ปรับปรุง และตีพิมพ์ออกมาให้หน่วยงานราชการและประชาชนทั่วไปได้นำไปใช้ประโยชน์ ได้แก่ '''แผนที่ธรณีวิทยาประเทศไทย มาตราส่วน 1:2,500,000''' จัดทำโดย[[กรมทรัพยากรธรณี]] [[กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม]] เมื่อปี [[พ.ศ. 2542]]
 
แม้ว่าในขณะนี้กรมทรัพยากรธรณี กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ได้พิมพ์เผยแพร่ แผนที่ธรณีวิทยาประเทศไทย มาตราส่วน 1:2,500,000 ออกมาแล้ว แต่หากพูดถึงแผนที่ธรณีวิทยาประเทศไทยในมาตราส่วนที่ใหญ่กว่านี้ ที่เป็นมาตราส่วนที่ได้รับความนิยมในการนำไปใช้มากที่สุด คือ มาตราส่วน 1:50,000 ซึ่งยังไม่ได้รับการสำรวจและจัดทำ[[แผนที่]]ออกให้ครอบคลุมทั่วทุกระวางแผนที่
 
== รายการแผนที่ ==
== การเข้าถึงข้อมูล ==
รายการแผนที่ธรณีวิทยาประเทศไทย<ref name="ราคาแผนที่ธรณีวิทยาประเทศไทย">[http://www.dmr.go.th/main.php?filename=geological_map รายการแผนที่ธรณีวิทยาประเทศไทย พร้อมราคา] กรมทรัพยากรธรณี</ref> ได้แก่
แผนที่ธรณีวิทยาประเทศไทย มาตราส่วน 1:2,500,000 ขนาดเท่าจริง สามารถซื้อได้ที่ '''กรมทรัพยากรธรณี กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม''' ในราคาประมาณชุดละ 100 บาท หรืออาจจะโหลดขนาดย่อได้จากเว็บไซต์ต่อไปนี้
* แผนที่ธรณีวิทยาประเทศไทย มาตราส่วน 1:2,500,000
* แผนที่ธรณีวิทยาประเทศไทย มาตราส่วน 1:1,000,000
* แผนที่ธรณีวิทยาประเทศไทย มาตราส่วน 1:500,000
* แผนที่ธรณีวิทยาประเทศไทย มาตราส่วน 1:250,000
* แผนที่ธรณีวิทยาประเทศไทย มาตราส่วน 1:50,000
 
== การเข้าถึงข้อมูล ==
* [http://www.dmr.go.th/geothai/index.html '''ธรณีวิทยาประเทศไทย'''] จากเว็บไซต์ของกรมทรัพยากรธรณี กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
* [http://www.dmr.go.th/geothai/images/geologic.jpg '''แผนที่ธรณีวิทยาประเทศไทย มาตราส่วน 1:2,500,000'''] จากเว็บไซต์ของขนาดเท่าจริง สามารถซื้อได้ที่ กรมทรัพยากรธรณี กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ในราคาประมาณชุดละ 100 บาท<ref name="ราคาแผนที่ธรณีวิทยาประเทศไทย" />
* [http://www.dmr.go.th/geothai/images/explanation.jpg '''คำอธิบายแผนที่ธรณีวิทยาประเทศไทย มาตราส่วน 1:2,500,000'''] จากเว็บไซต์ของกรมทรัพยากรธรณี กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
 
== อ้างอิง ==
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
{{รายการอ้างอิง}}
* [http://www.dmr.go.th/ กรมทรัพยากรธรณี] กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
 
{{เรียงลำดับ|ผแนที่ธรณีวิทยาประเทศไทย มาตราส่วน 1:2,500,000}}
 
[[หมวดหมู่:แผนที่]]
[[หมวดหมู่:ธรณีวิทยา]]
[[หมวดหมู่:ประเทศไทย]]