ผลต่างระหว่างรุ่นของ "คลื่นไหวสะเทือน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Subpadon (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Subpadon (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 23:
}}
'''คลื่นปฐมภูมิ''' ({{lang-en|primary wave หรือ p wave}}) เป็นคลื่นตัวกลางที่เกี่ยวข้องกับการบีบอัดและคลายตัวของวัสดุเนื่องจาก[[ความยืดหยุ่น]]เมื่อคลื่นเดินทางผ่านโดยไม่เกิด[[การหมุน]] ลักษณะของคลื่นประเภทนี้อาจเทียบได้กับคลื่นเสียงในอากาศ
<ref name="Fowler2005The Solid Earth">{{cite book|author=C. M. R. Fowler|title=The solid earth: an introduction to global geophysics|url=http://books.google.com/books?id=PifkAotvTroC|accessdate=15 May 2011|year=2005|publisher=Cambridge University Press|isbn=9780521584098}}</ref>
ความเร็วในการเคลื่อนที่ของคลื่นปฐมภูมิสามารถคำนวณได้จากสมการ
 
บรรทัด 62:
== การเรียกชื่อคลื่น ==
[[ไฟล์:Earthquake wave paths.svg|right|thumb|250px|เส้นทางการเดินทางของคลื่นแผ่นดินไหว]]
เส้นทางการเดินทางของคลื่นจากจุด[[ศูนย์เกิดแผ่นดินไหว|ศูนย์กลางการเกิดแผ่นดินไหว]]ถึงจุดสังเกตการณ์มักจะถูกเขียนในรูปแบบของแผนภาพโดยใช้ลูกศรแสดงทิศทางการเดินทางของคลื่นดังตัวอย่างในภาพ เมื่อพิจารณา[[การสะท้อน (ฟิสิกส์)|การสะท้อน]]ของคลื่นเมื่อเดินทางผ่านตัวกลางชนิดต่างๆ จะทำให้เส้นทางการเดินทางของคลื่นที่เป็นไปได้มีจำนวนนับไม่ถ้วน แต่ละรูปแบบที่เป็นไปได้สามารถเขียนแทนได้ด้วยกลุ่มของตัวอักษรภาษาอังกฤษ ตัวอักษรพิมพ์เล็กใช้สื่อถึงเส้นเขตระหว่างสองตัวกลาง (เกิด[[การสะท้อน (ฟิสิกส์)|การสะท้อน]]ของคลื่น) ในขณะที่ตัวอักษรพิมพ์ใหญ่ใช้สื่อถึงตัวกลางที่คลื่นเดินทางผ่านเข้าไป<ref name="BullenBolt1985">An{{cite Introductionbook|author1=Keith to the Theory of Seismology, 4th ed.; K.E.Edward Bullen and |author2=Bruce A. Bolt|title=An (1993)</ref><ref>Internationalintroduction Handbookto ofthe Earthquaketheory andof Engineering Seismology, Volume 1; edseismology|url=http://books.google.com/books?id=Pr96hZU_X7sC|accessdate=15 WilliamMay Han2011|year=1985|publisher=Cambridge KungUniversity Lee; accessed through books.google.comPress|isbn=9780521283892}}</ref>
 
{| class="wikitable"
| c || คลื่นสะท้อนที่แก่นโลกชั้นนอก