ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ราชวงศ์ปาห์ลาวี"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Luckas-bot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.7.1) (โรบอต เพิ่ม: hi:पहलवी वंश
Xqbot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต แก้ไข: ar:الدولة البهلوية; ปรับแต่งให้อ่านง่าย
บรรทัด 1:
{{Infobox Former Country
|native_name =دولت شاهنشاهی ایران<br />''Dowlat-e Shâhanshâhi-ye Irân''
|conventional_long_name = จักรวรรดิอิหร่าน / จักรวรรดิเปอร์เซีย
|common_name = ราชวงศ์ปาห์ลาวี
บรรทัด 27:
|image_map = LocationIran.png
|image_map_caption = แผนที่อิหร่านในสมัยราชวงศ์ปาห์ลาวี
|national_anthem = ''[[ซอรูเด ชาฮันชาฮี อีราน]]'' <br />(สดุดีจักรพรรดิอิหร่าน)
|capital = [[เตหะราน]]
|common_languages = [[ภาษาเปอร์เซีย]]
บรรทัด 60:
 
[[ไฟล์:Pahlavi_and_King_of_Thailand.jpg|thumb|left|[[พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช|พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว]] พร้อมด้วย[[เจ้าชายกอลัม เรซา ปาห์ลาวี]] และ[[เจ้าหญิงมันจิเนห์ ปาห์ลาวี]]]]
== สงครามโลกครั้งสอง ==
หลังจากที่เยอรมนีรุกรานสหภาพโซเวียตในเดือนมิถุนายน ค.ศ. 1941 แล้ว อังกฤษและสหภาพโซเวียตก็เป็นพันธมิตรกัน และทั้งสองประเทศก็เริ่มให้ความสนใจกับอิหร่าน โดยทั้งสองประเทศต่างก็เห็นว่าจะสามารถใช้ทางรถไฟของอิหร่านในการขนส่งจากอ่าวเปอร์เซียมายังสหภาพโซเวียตได้ แต่เนื่องจากพระเจ้าชาห์ เรซาปฏิเสธที่จะเนรเทศชาวเยอรมัน อังกฤษและสหภาพโซเวียตจึงรุกรานอิหร่าน และปลดพระเจ้าชาห์ออกจากตำแหน่งและเข้าควบคุมการรถไฟของอิหร่านในเดินสิงหาคม ค.ศ. 1941ต่อมาในปีค.ศ. 1942 สหรัฐอเมริกาซึ่งเป็นพันธมิตรกับทั้งสองประเทศได้ส่งกำลังทหารเข้าช่วยดูแลระบบรถไฟของอิหร่าน และหลังจากนั้นเพียงไม่กี่เดือน ทั้งสามประเทศก็เข้าควบคุมแหล่งน้ำมันของอิหร่านเพื่อผลประโยชน์ของประเทศของตน อำนาจของพระเจ้าชาห์ เรซาจึงสิ้นสุดลง แต่ทั้งสามประเทศก็อนุญาตให้พระโอรสของพระเจ้าชาห์ เรซาขึ้นครองราชย์ต่อจากพระองค์ได้
 
บรรทัด 82:
| width = 50% colspan=2| '''พระปรมาภิไธย''' || width=15%| '''เสด็จขึ้นครองราชย์''' || width=15%| '''สิ้นสุดการดำรงตำแหน่ง''' || width=20%| '''หมายเหตุ'''
|-
| [[ไฟล์:Reza Shah Pahlavi.jpg|120px]] || bgcolor="#E9E9E9"| '''[[พระเจ้าชาห์ เรซา ปาห์ลาวี]]'''<br /> || [[15 ธันวาคม]] [[ค.ศ. 1925]] <br /> || [[16 กันยายน]] [[ค.ศ. 1941]] <br /> || align=left| ผู้ก่อตั้งราชวงศ์ปาห์ลาวี
|-
| [[ไฟล์:Shah of iran.jpg|120px]] || bgcolor="#E9E9E9"| '''[[พระเจ้าชาห์ โมฮัมหมัด เรซา ปาห์ลาวี]]'''<br /> || [[16 กันยายน]] [[ค.ศ. 1941]] <br /> || [[11 กุมภาพันธ์]] [[ค.ศ. 1979]]<br /> || align=left| สิ้นสุดการปกครอง[[ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์]]ในประเทศอิหร่าน
|-
|}
บรรทัด 93:
| width = 50% colspan=2| '''พระปรมาภิไธย''' || width=15%| '''เสด็จขึ้นครองราชย์''' || width=15%| '''สิ้นสุดการดำรงตำแหน่ง''' || width=20%| '''หมายเหตุ'''
|-
| [[ไฟล์:Shah of iran.jpg|120px]] || bgcolor="#E9E9E9"| '''[[พระเจ้าชาห์ โมฮัมหมัด เรซา ปาห์ลาวี]]'''<br /> || [[11 กุมภาพันธ์]] [[ค.ศ. 1979]]<br /> || [[27 กรกฎาคม]] [[ค.ศ. 1980]] <br /> || align=left| ผู้อ้างสิทธิในราชบัลลังก์ชาห์แห่งอิหร่าน
|-
| [[ไฟล์:Shahbanu of Iran.jpg|120px]] || bgcolor="#E9E9E9"| '''[[จักรพรรดินีฟาราห์ ปาห์ลาวี]]'''<br /> || [[27 กรกฎาคม]] [[ค.ศ. 1980]] <br /> || [[27 กรกฎาคม]] [[ค.ศ. 1982]]<br /> || align=left| ผู้อ้างสิทธิตำแหน่งจักรพรรดินีนาถผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์
|-
| [[ไฟล์:Cyrus small.JPG|120px]] || bgcolor="#E9E9E9"| '''[[เจ้าชายเรซา ปาห์ลาวี มกุฎราชกุมารแห่งอิหร่าน|มกุฎราชกุมารเรซา ปาห์ลาวี]]'''<br /> || [[27 กรกฎาคม]] [[ค.ศ. 1982]] <br /> || ปัจจุบัน <br /> || align=left| ผู้อ้างสิทธิในราชบัลลังก์อิหร่านองค์ปัจจุบัน
|}
 
บรรทัด 103:
[[ไฟล์:Mohammad Pahlavi Coronation.jpg|thumb|พระราชวงศ์ปาห์ลาวี ใน [[ค.ศ. 1967]]]]
ฐานันดรศักดิ์หรือคำนำหน้าพระนามของพระราชวงศ์ปาห์ลาวี ได้แก่
* '''ชาห์ (شاه, Shah)''' เป็นฐานันดรที่ใช้เรียกพระเจ้าแผ่นดินของอิหร่าน โดยใช้นำหน้าพระนาม และตามด้วยคำว่า ชาฮันชาห์แห่งอิหร่าน (Shahanshah of Iran) โดยมีความหมายเทียบเท่ากับคำว่าสมเด็จพระจักรพรรดิ (HIM) ได้แก่ [[พระเจ้าชาห์ เรซา ปาห์ลาวี]] และ[[พระเจ้าชาห์ โมฮัมหมัด เรซา ปาห์ลาวี]]
* '''ชาห์บานู (شاهبانو, Shabanou หรือ Shahbanou)''' เป็นฐานันดรที่ใช้เรียกพระจักรพรรดินีแห่งอิหร่าน โดยใช้นำหน้าพระนาม และลงท้ายพระนามด้วยคำว่าแห่งอิหร่าน มีความหมายเทียบเท่าสมเด็จพระจักรพรรดินี (HIM) มีผู้ใช้คำนำหน้าพระนามนี้เพียงพระองค์เดียวคือ [[จักรพรรดินีฟาราห์ ปาห์ลาวี]]
* '''มาเลเก (ملکه, Maleke)''' เป็นฐานันดรที่ใช้เรียกสมเด็จพระราชินีแห่งอิหร่าน โดยมาจากรากศัพท์อาหรับคำว่า ''มาลิก'' (ملك‎) ที่มีความหมายว่ากษัตริย์ และเป็นพระนามหนึ่งของ[[อัลลอหฺ]] ปัจจุบันตำแหน่งนี้ถูกยกเลิก และใช้คำนำหน้าเป็นจักรพรรดินีหรือชาห์บานูแทน มีผู้ใช้คำนำหน้าพระนามนี้ 3 พระองค์คือ [[สมเด็จพระราชินีทัดจ์ อัล-โมเลาก์|สมเด็จพระราชินีทัดจ์ อัล-โมลุก]], [[เจ้าหญิงเฟาซียะห์แห่งอียิปต์|สมเด็จพระราชินีเฟาซียะห์]] และ[[เจ้าหญิงโซรยา อัสฟานดิยารี-บักติยารี|สมเด็จพระราชินีโซรยา]]
* '''มกุฎราชกุมารแห่งอิหร่าน''' เป็นฐานันดรที่ใช้เรียกพระราชโอรสพระองค์แรกในพระเจ้าชาห์ โดยจะรับสืบทอดตำแหน่งพระเจ้าชาห์ต่อจากพระราชบิดา ผู้ดำรงตำแหน่งนี้มีเพียง 2 พระองค์ได้แก่ [[พระเจ้าชาห์ โมฮัมหมัด เรซา ปาห์ลาวี|มกุฎราชกุมารโมฮัมหมัด เรซา ปาห์ลาวี]] และ[[เจ้าชายเรซา ปาห์ลาวี มกุฎราชกุมารแห่งอิหร่าน|มกุฎราชกุมารเรซา ปาห์ลาวี]]
* '''ชาห์ปูร์ (شاهپور, Shahpur)''' เป็นฐานันดรที่ใช้เรียกพระราชโอรสองค์รองลงไป โดยใช้นำหน้าพระนาม และตามด้วยพระราชสกุล เช่น [[เจ้าชายอาลี เรซา ปาห์ลาวีที่ 1]], [[เจ้าชายกอลัม เรซา ปาห์ลาวี]] เป็นต้น
* '''ชาห์ดอคต์ (شاهدخت, Shahdokht)''' เป็นฐานันดรที่ใช้เรียกพระราชธิดา ใช้นำหน้าพระนาม และตามด้วยพระราชสกุลเช่นเดียวกับชาห์ปูร์ เช่น [[เจ้าหญิงชามส์ ปาห์ลาวี]] และ[[เจ้าหญิงอัชราฟ ปาห์ลาวี]] เป็นต้น
* '''วาลา กอฮัร และวาลา กอฮารี (Vala Gohar และ Vala Gohari)''' เป็นฐานันดรที่ใช้เรียกพระเจ้าหลานเธอในพระเจ้าชาห์ โดยหากพระราชโอรสได้เสกสมรสกับสตรีใดก็ตามบุตรที่เกิดมาจะต้องใช้คำนำหน้านี้และตามด้วยพระราชสกุล ส่วนพระราชธิดาของพระเจ้าชาห์ได้เสกสมรสกับชายใดก็ตาม บุตรหรือธิดาจะมีพระนามและตามด้วยสกุลของผู้เป็นบิดา เช่น [[เจ้าหญิงซาห์รา มาห์นาซ|เจ้าหญิงซาห์รา มาห์นาซ ซาเฮดี]] และ[[เจ้าหญิงฟอเซห์ จาฮันบานี]]เป็นต้น
 
อย่างไรก็ตามหากเจ้าหญิงในพระราชวงศ์ได้เสกสมรสกับชาวต่างชาติ ในกรณีของ[[เจ้าหญิงฟาติเมห์ ปาห์ลาวี]] พระขนิษฐาต่างพระมารดาใน[[พระเจ้าชาห์ โมฮัมหมัด เรซา ปาห์ลาวี]] ได้เสกสมรสกับนักธุรกิจชาวอเมริกันเป็นสวามี พระโอรส-ธิดาที่ประสูติออกมา จะไม่มีคำนำหน้าพระนาม โดยใช้ราชสกุลปาห์ลาวีและตามด้วยนามสกุลของบิดา เป็น ''Pahlavi Hillyer''
บรรทัด 115:
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
{{Commonscat|Pahlavi}}
* [http://www.4dw.net/royalark/Persia/pahlavi2.htm The Pahlavi Dynasty]
* [http://www.payvand.com/news/06/mar/1090.html What Really Happed to the Shah of Iran], Payvand News, March 10, 2006.
* [http://www.egyptianroyalty.net. Egyptian Royalty] by Ahmed S. Kamel, Hassan Kamel Kelisli-Morali, Georges Soliman and Magda Malek.
* [http://www.egyptedantan.com. L'Egypte D'Antan... Egypt in Bygone Days ] by Max Karkegi.
{{Pahlavi Dynasty}}
{{โครงประวัติศาสตร์}}
 
[[หมวดหมู่:ราชวงศ์ปาห์ลาวี|*]]
[[หมวดหมู่:ประวัติศาสตร์อิหร่าน]]
{{โครงประวัติศาสตร์}}
 
[[ar:مملكةالدولة إيرانالبهلوية]]
[[az:Pəhləvilər]]
[[ceb:Dinastiyang Pahlavi]]