ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
MerlIwBot (คุย | ส่วนร่วม)
Redakie (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 3:
'''สมาชิก[[สภาผู้แทนราษฎร]]''' หรือ ส.ส. เป็นตัวแทนของประชาชน ที่เข้าไปทำหน้าที่ ออกกฎหมาย และตรวจสอบการทำงานของรัฐบาล ร่วมกับ[[สมาชิกวุฒิสภา]]
 
ตามรัฐธรรมนูญของประเทศไทยปัจจุบัน กำหนดให้สภาผู้แทนราษฎรของไทย มีส.ส.จำนวนทั้งสิ้น 480500 คน
 
ส.ส. บางส่วนอาจต้องไปทำหน้าที่[[รัฐมนตรี]] กรณีนี้สมาชิกภาพของส.ส.ผู้นั้นก็จะหมดไป ทำให้ตำแหน่งส.ส.ในสภาว่างลง ในกรณีที่เป็น ส.ส. ระบบแบ่งเขตเลือกตั้ง ก็ต้องจัดให้มี[[การเลือกตั้งซ่อม]] หรือหากเป็น ส.ส. ระบบบัญชีรายชื่อ ก็ให้เลื่อนลำดับถัดไปในบัญชีรายชื่อพรรคขึ้นมาเป็นส.ส.แทน
เพื่อให้จำนวนส.ส.ทั้งหมดครบ 480500 คน
 
== อำนาจ ==
บรรทัด 19:
== การเลือกเข้าไปทำงาน ==
# [[พรรคการเมือง]]ลงสมัคร รับหมายเลขพรรค
# พรรคการเมืองจัด ส.ส. ลงแข่งขันในระบบเขต 400375 เขต (แบ่งตามจำนวนประชากร) และแบบสัดส่วนบัญชีรายชื่อไม่เกิน 80125 คน (เดิมเป็นแบบบัญชีรายชื่อ ไม่เกิน 100 คน)
# [[คณะกรรมการการเลือกตั้ง]] คัด กลั่นกรองผู้สมัครถึงสิทธิ์การเป็น ส.ส.
# ประกาศการเลือกตั้งทั่วไปทั่วประเทศ
# ผู้มีสิทธิ์เลือกตั้งกากากบาท (X) บัตรเลือกตั้งสองใบ ใบละหมายเลข แล้วหย่อนในหีบบัตร
# ปิดหีบ นับคะแนน ผู้ชนะแบบแบ่งเขตแต่ละเขตเข้าสภา รวม 400375 คน
# นับคะแนนบัญชีรายชื่อทั่วประเทศ คิดเป็นร้อยละ เช่น พรรค ก. ได้ 519,000 เสียง และ พรรค ข ได้ 317,000 พรรค ก. จะได้คนที่ส่งชื่อ 51 คนเรียงตามลำดับ และถ้าเศษของ % ของพรรคไหนมากที่สุดพรรคนั้นก็ได้ไป และพรรค ข จะได้เพียง 31 คนเท่านั้นเพราะเศษไม่ถึง
# ประกาศผลการเลือกตั้ง