ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การติดต่อสื่อสารสะท้อนพื้นผิวดวงจันทร์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Poonyo (คุย | ส่วนร่วม)
Xqbot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต แก้ไข: ja:月面反射通信; ปรับแต่งให้อ่านง่าย
บรรทัด 1:
{{ต้องการอ้างอิง}}
[[ไฟล์:Moon-Mdf-2005.jpg||right|250px|ดวงจันทร์]]
'''การติดต่อสื่อสารสะท้อนพื้นผิวดวงจันทร์''' ({{lang-en|Earth-Moon-Earth หรือ Moon bounce}}) มักเรียกกันสั้นๆ ว่า '''EME''' หมายถึงการติดต่อสื่อสารโดยการส่งสัญญาณวิทยุจากโลกไปสะท้อนพื้นผิวของดวงจันทร์กลับมายังโลก ซึ่งพื้นผิวของดวงจันทร์จะสะท้อน คลื่นวิทยุคล้ายกับการติดต่อสื่อสารย่าน HF ที่ใช้ชั้นบรรยากาศสะท้อนคลื่นวิทยุเพื่อช่วยในการติดต่อสื่อสารให้สามารถเกิดขึ้นได้ แต่การใช้ดวงจันทร์สะท้อนคลื่นวิทยุนั้นมีความยากกว่ามาก เนื่องจาก[[ดวงจันทร์]]อยู่ห่างจาก[[โลก]]มาก ทั้งยังมีการลดทอนสัญญาณที่ผ่านชั้นบรรยากาศ และปัจจัยอื่นๆ อีกหลายอย่าง ดังนั้นการติดต่อ EME นับได้ว่าเป็นความท้าทายอย่างมากของ [[วิทยุสมัครเล่น| นักวิทยุสมัครเล่น]]ที่จะทดลอง
 
== เกี่ยวกับดวงจันทร์ ==
บรรทัด 31:
 
=== เครื่องรับ ===
การติดต่อ EME นั้นจะเล่นกันใน Mode [[รหัสมอร์ส|CW]] และ [[SSB]] เท่านั้น ที่ใช้กันมากที่สุดคือ [[รหัสมอร์ส| CW]] มีบางโอกาสเท่านั้นจึงสามารถใช้ SSB ได้ ส่วน Mode [[FM]] ไม่สามารถติดต่อได้ในปัจจุบัน ดังนั้นเครื่องรับ จึงต้องสามารถใช้ Mode CW/SSB ได้ด้วย เช่น IC-275, FT-736 และจะต้องให้มีความไวของภาครับ (Sensitivity) ต่ำ และ Noise Figure ต่ำเช่นกัน ซึ่งเครื่องที่มีขายอยู่ทั่วไปในบางครั้ง ค่า Noise Figure ไม่ต่ำพอ ดังนั้นจึงต้องใช้ อุปกรณ์ช่วยขยายสัญญาณภาครับหรือ Preamplifier
 
=== เครื่องส่ง กำลังส่งและเครื่องขยายกำลังส่ง ===
บรรทัด 39:
=== Mode ในการติดต่อ ===
การติดต่อ EME ในปัจจุบันสามารถใช้งานได้หลายชนิดด้วยกันได้แก่
* [[รหัสมอร์ส | CW]]
* [[SSB]]
* [http://pulsar.princeton.edu/~joe/K1JT WSJT]
 
=== ความถี่และ Band Plan ===
การติดต่อ EME มักใช้ความถี่ย่าน VHF/UHF และสูงขึ้นไป ตั้งแต่ 50MHz, [[144.000_ -_ 146.000_MHz MHz|144MHz]], 430MHz ไปจนถึง 10GHz และสูงขึ้นไป ไม่สามารถใช้งานย่านต่ำหรือ HF ได้เนื่องจากคลื่นวิทยุจะไม่สามารถทะลุชั้นบรรยากาศออกไปได้นั่นเอง สำหรับประเทศไทยตาม Band Plan สามารถใช้งานได้ในความถี่ 144 MHz ระหว่าง 144.000 – 144.075 MHz
 
=== ปรากฏการณ์ Dropper ===
บรรทัด 132:
=== Random QSO ===
สถานีที่มีสายอากาศอัตราขยายมาก และกำลังส่งสูงพอที่จะติดต่อโดยไม่ต้องมีการนัดหมายล่วงหน้าสามารถใช้วิธีการติดต่อโดยไม่ต้องนัดหมายได้ ถ้าสัญญาณสามารถรับได้ดี
{{โครงวิทยาศาสตร์}}
 
[[หมวดหมู่:งานอดิเรก]]
[[หมวดหมู่:วิทยุสมัครเล่น]]
[[หมวดหมู่:การสื่อสารไร้สาย]]
{{โครงวิทยาศาสตร์}}
 
[[de:Erde-Mond-Erde]]
บรรทัด 142:
[[es:Rebote lunar]]
[[fr:Earth-Moon-Earth]]
[[ja:Earth-Moon-Earth月面反射通信]]
[[nl:Moonbouncing]]
[[pl:EME (komunikacja)]]