ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การค้นหาและกู้ภัย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Poonyo (คุย | ส่วนร่วม)
Poonyo (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 22:
 
== การค้นหาและช่วยเหลืออากาศยานที่ประสพภัย ==
การค้นหาช่วยเหลืออากาศยาน แต่เดิม มากจากภารกิจทางทหารที่ต้อง ช่วยเหลือ นักบินทหารที่ถูกยิงตกหรืออากาศยานตกในสมรถภูมิ การปฏิบัติการค้นหาและช่วยชีวิต ได้มีการบันทึกไว้เกิดขึ้นตั้งแต่สมัยก่อนสงครามโลกครั้งที่ 1 โดยในปี [[ค.ศ. 1870]] [[ประเทศฝรั่งเศส]]เป็นประเทศแรกที่ใช้[[บอลลูน]]รับ[[ทหาร]]บาดเจ็บ จำนวนรวม ๑๖๐160 คนออกจากสนามรบเมื่อกองทัพของบิสมาร์คทำการปิดล้อม[[กรุงปารีส]] ในสงครามฟรังโก้ – ปรัสเซียน ต่อมาในปี [[ค.ศ.๑๙๑๕ 1915]] ประเทศฝรั่งเศสได้สร้างประวัติศาสตร์ของการค้นหา และช่วยชีวิตทางอากาศขึ้นมาอีกครั้งเมื่อเป็นประเทศแรกที่ใช้เครื่องบินเป็น[[โรงพยาบาล]]ลอยฟ้ารับผู้ป่วยจาก[[ประเทศเซอร์เบีย]] กลับประเทศ
ในปี ค.ศ.๑๙๑๘ กองทัพบก ของประเทศสหรัฐอเมริกาได้ริเริ่มทำการดัดแปลงเครื่องบินรบมาเป็น
โรงพยาบาลในอากาศและในปี ค.ศ.๑๙๓๘ ซึ่งเป็นต้นสงครามโลกครั้งที่ ๒ ในช่วงของสงครามชิงเกาะ
อังกฤษนั้นเยอรมันก็ได้ใช้เครื่องบินแบบโฮน์เคล ๕ ซึ่งเป็นเครื่องบินทะเลติดเครื่องหมายกาชาดสีแดง ออกทำการช่วยเหลือนักบินของตนที่ถูกยิงตกในช่องแคบอังกฤษโดยใช้ทั้งแพยางและอุปกรณ์ที่จำเป็นอื่น ๆ ในปี
ค.ศ.๑๙๔๐ ฝ่ายเยอรมันได้พัฒนาการช่วยชีวิตนักบินฝ่ายตนโดยการวางทุ่นลอยขนาดใหญ่ทาสีเหลืองสด
และมีกาชาดสีแดง สามารถมองเห็นได้ชัดเจนในบริเวณช่องแคบอังกฤษซึ่งในทุ่นลอยนี้มีทั้งอาหารและน้ำดื่มและอุปกรณ์ในการดำรงชีพอื่น ๆ อีกหลายชนิดเพียงพอสำหรับคน ๔ คน ในปี ค.ศ.๑๙๔๑ จำนวผู้ปฏิบัติงานในอากาศของฝ่ายสัมพันธมิตรถูกยิงตกทวีจำนวนมากขึ้นจนน่าวิตก จำเป็นต้องพัฒนาการค้นหาและช่วยชีวิตให้ดียิ่งขึ้นกว่าที่เป็นอยู่อังกฤษจึงได้จัดตั้งโครงสร้างของหน่วยซึ่งมีระบบในการค้นหาและช่วยชีวิตที่การติดต่อสื่อสารมีประสิทธิภาพดียิ่งขึ้นทำให้สามารถรักษาชีวิตนักบินของฝ่ายตนได้เพิ่มมากขึ้น จากผลของความสำเร็จดังกล่าว ใน ค.ศ.๑๙๔๒ อังกฤษและสหรัฐอเมริกาจึงได้ร่วมมือกันเป็นครั้งแรกใน การฝึกอบรมเจ้าหน้าที่ผู้ทำงานในอากาศให้รู้จักวิธีการค้นหาและช่วยชีวิตตลอดจนเทคนิคต่างๆ ในการดำรงชีวิต โดยการนำแนว-ความคิดของฝ่ายเยอรมันมาใช้ทำให้โฉมหน้าของการค้นหาและช่วยชีวิตเปลี่ยนไป อย่างสิ้นเชิงดังเห็นได้จากในปีค.ศ.๑๙๔๔ ฝ่ายสัมพันธมิตรสามารถทำการช่วยเหลือนักบินและเจ้าหน้าที่ ประจำเครื่องบินทิ้งระเบิดของตนได้ถึง ๒๘ - ๔๓ เปอร์เซ็นต์ และนักบินขับไล่ของกองu3607 กองทัพอากาศอีก๓เปอร์เซ็นต์ ในที่สุดเมื่อวันที่ ๒๘ พฤษภาคม ๑๙๔๖ กองทัพอากาศสหรัฐอเมริกาก็ได้จัดตั้งระบบการค้นหาและช่วยชีวิตทางอากาศขึ้นมาอย่างจริงจัง ทำให้ระบบนี้มีความก้าวหน้าทางเทคนิคเพิ่มขึ้นตลอดมาจนถึงปัจจุบัน
การใช้เฮลิคอปเตอร์ในภารกิจการช่วยชีวิตทางทหารเริ่มมีขึ้นเป็นครั้งแรก ในสงครามเกาหลีโดยสหรัฐอเมริกาใช้เฮลิคอปเตอร์แบบเอช – ๕ ร่วมกับเครื่องบินแบบ ซี – ๔๗ และเครื่องบินแบบแอล – ๕ทำการช่วยเหลือทหารของฝ่ายสหประชาชาติไปส่งยังพื้นที่ปลอดภัยได้ จำนวนทั้งสิ้น ๘,๖๙๐ คน ซึ่งเป็นการปฏิบัติงานด้วยเฮลิคอปเตอร์ถึง ๘,๒๑๘ คน และ ๘๖ คน จากจำนวนดังกล่าวเป็นการช่วยเหลือออกมาหลังแนวรบของข้าศึก ต่อมาเมื่อเกิดสงครามเวียดนาม กองบินค้นหาและช่วยชีวิตของสหรัฐอเมริกาสามารถช่วยชีวิตผู้ ทำงานในอากาศที่ถูกยิงตกในดินแดนของเวียดนามเหนือได้ถึงหนึ่งในสามของจำนวนทั้งหมดแม้ว่าจะมีการต่อต้านอย่างรุนแรงก็ตาม เมื่อรวมถึงบริเวณอื่น ๆ ก็สามารถช่วยชีวิตได้มากกว่าครึ่ง ซึ่งครั้งนี้เป็นการ ปฏิบัติงานของเฮลิคอปเตอร์แทบทั้งสิ้น
 
ในปี [[ค.ศ. 1918]] กองทัพบกของ[[ประเทศสหรัฐอเมริกา]]ได้ริเริ่มทำการดัดแปลงเครื่องบินรบมาเป็นโรงพยาบาลในอากาศ และในปี [[ค.ศ. 1938]] ซึ่งเป็นต้น[[สงครามโลกครั้งที่ 2]] ในช่วงของสงครามชิง[[เกาะอังกฤษ]]นั้น[[ประเทศเยอรมัน|เยอรมัน]]ก็ได้ใช้เครื่องบินแบบโฮน์เคล 5 ซึ่งเป็นเครื่องบินทะเลติดเครื่องหมายกาชาดสีแดง ออกทำการช่วยเหลือนักบินของตนที่ถูกยิงตกในช่องแคบอังกฤษโดยใช้ทั้งแพยางและอุปกรณ์ที่จำเป็นอื่น ๆ ในปี
สำหรับการค้นหาและช่วยชีวิตของกองทัพอากาศไทย ได้เริ่มดำเนินการมาตั้งแต่ พ.ศ. ๒๔๙๗ เมื่อ
 
ได้รับโอนฮ.-๑ (เอช – ๕๑) มาจากกรมการบินพลเรือนโดยจัดเป็นภารกิจหนึ่งของกองบิน ๖ ฝูง ๖๓
[[ค.ศ. 1940]] ฝ่ายเยอรมันได้พัฒนาการช่วยชีวิตนักบินฝ่ายตน โดยการวางทุ่นลอยขนาดใหญ่ทาสีเหลืองสด และมีกาชาดสีแดง สามารถมองเห็นได้ชัดเจนในบริเวณช่องแคบอังกฤษ ซึ่งในทุ่นลอยนี้มีทั้งอาหารและน้ำดื่ม และอุปกรณ์ในการดำรงชีพอื่น ๆ อีกหลายชนิดเพียงพอสำหรับคน 4 คน ในปี [[ค.ศ.๑๙๔๑ 1941]] จำนวผู้ปฏิบัติงานในอากาศของฝ่ายสัมพันธมิตรถูกยิงตกทวีจำนวนมากขึ้นจนน่าวิตก จำเป็นต้องพัฒนาการค้นหา และช่วยชีวิตให้ดียิ่งขึ้นกว่าที่เป็นอยู่อังกฤษจึงได้จัดตั้งโครงสร้างของหน่วยซึ่งมีระบบในการค้นหาและช่วยชีวิตที่การติดต่อสื่อสารมีประสิทธิภาพดียิ่งขึ้นทำให้สามารถรักษาชีวิตนักบินของฝ่ายตนได้เพิ่มมากขึ้น จากผลของความสำเร็จดังกล่าว ใน [[ค.ศ.๑๙๔๒ 1942]] อังกฤษและสหรัฐอเมริกาจึงได้ร่วมมือกันเป็นครั้งแรกใน การฝึกอบรมเจ้าหน้าที่ผู้ทำงานในอากาศให้รู้จักวิธีการค้นหาและช่วยชีวิตตลอดจนเทคนิคต่างๆ ในการดำรงชีวิต โดยการนำแนว-ความคิดของฝ่ายเยอรมันมาใช้ทำให้โฉมหน้าของการค้นหา และช่วยชีวิตเปลี่ยนไป อย่างสิ้นเชิงดังเห็นได้จากในปี [[ค.ศ.๑๙๔๔ 1944]] ฝ่ายสัมพันธมิตรสามารถทำการช่วยเหลือนักบินและเจ้าหน้าที่ ประจำเครื่องบินทิ้งระเบิดของตนได้ถึง ๒๘28 - ๔๓43 เปอร์เซ็นต์ และนักบินขับไล่ของกอง u3607 กองทัพอากาศอีก 3 เปอร์เซ็นต์ ในที่สุดเมื่อวันที่ ๒๘[[28 พฤษภาคม]] ๑๙๔๖[[ค.ศ. 1946]] กองทัพอากาศสหรัฐอเมริกาก็ได้จัดตั้งระบบการค้นหา และช่วยชีวิตทางอากาศขึ้นมาอย่างจริงจัง ทำให้ระบบนี้มีความก้าวหน้าทางเทคนิคเพิ่มขึ้นตลอดมาจนถึงปัจจุบัน
 
การใช้เฮลิคอปเตอร์ในภารกิจการช่วยชีวิตทางทหารเริ่มมีขึ้นเป็นครั้งแรก ใน[[สงครามเกาหลี]]โดยสหรัฐอเมริกาใช้เฮลิคอปเตอร์แบบเอช – ๕-5 ร่วมกับเครื่องบินแบบ ซี – ๔๗-47 และเครื่องบินแบบแอล-5 – ๕ทำการช่วยเหลือทหารของฝ่าย[[สหประชาชาติ]]ไปส่งยังพื้นที่ปลอดภัยได้ จำนวนทั้งสิ้น 8,๖๙๐690 คน ซึ่งเป็นการปฏิบัติงานด้วยเฮลิคอปเตอร์ถึง 8,๒๑๘218 คน และ ๘๖86 คน จากจำนวนดังกล่าวเป็นการช่วยเหลือออกมาหลังแนวรบของข้าศึก ต่อมาเมื่อเกิด[[สงครามเวียดนาม]] กองบินค้นหาและช่วยชีวิตของสหรัฐอเมริกาสามารถช่วยชีวิตผู้ ทำงานในอากาศที่ถูกยิงตกในดินแดนของ[[เวียดนามเหนือ]]ได้ถึงหนึ่งในสามของจำนวนทั้งหมด แม้ว่าจะมีการต่อต้านอย่างรุนแรงก็ตาม เมื่อรวมถึงบริเวณอื่น ๆ ก็สามารถช่วยชีวิตได้มากกว่าครึ่ง ซึ่งครั้งนี้เป็นการ ปฏิบัติงานของเฮลิคอปเตอร์แทบทั้งสิ้น
 
== การค้นหาและช่วยชีวิตของกองทัพอากาศไทย ==
สำหรับการค้นหาและช่วยชีวิตของกองทัพอากาศไทย ได้เริ่มดำเนินการมาตั้งแต่ พ.ศ. ๒๔๙๗ เมื่อ ได้รับโอนฮ.-๑ (เอช – ๕๑) มาจากกรมการบินพลเรือนโดยจัดเป็นภารกิจหนึ่งของกองบิน ๖ ฝูง ๖๓
ขณะนั้น และต่อมาเมื่อก่อตั้งกองบิน ๓ ขึ้น ฝูงบินเฮลิคอปเตอร์ คือ ฝูงบิน ๓๑ และ ๓๒ ก็ได้รับมอบ
ภารกิจนี้ต่อมาจนกระทั่งเมื่อกองบิน ๓ ถูกยุบ ฝูงบินเฮลิคอปเตอร์จึงมาขึ้นตรงกับกองบิน ๒ ซึ่งใช้ชื่อ