ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สาเหตุของสงครามโลกครั้งที่สอง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 38:
[[ฮังการี]] ซึ่งเคยเป็นพันธมิตรของเยอรมนีในช่วงสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง ถูกฉีกออกไปเป็นดินแดนจำนวนมหาศาล หลังจากที่ฝ่ายพันธมิตรตัดแบ่งจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีเดิม แต่ว่าฮังการียังคงต้องการที่จะคงความเป็นมิตรต่อกันกับเยอรมนี โดยในช่วงนี้แนวคิด[[ฮังการีอันยิ่งใหญ่]] กำลังได้รับความสนับสนุนในหมู่ชาวฮังการี
 
[[โรมาเนีย]] ซึ่งเป็นฝ่ายพันธมิตรในช่วงสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง และเป็นผู้ชนะสงคราม กลับรู้สึกว่าตนจะเป็นฝ่ายที่สูญเสียผลประโยชน์ในช่วงต้นของ[[สงครามโลกครั้งที่สอง]] จากผลของ[[สนธิสัญญาโมโลตอฟ-ริบเบนทรอปทรอพ]] ทำให้โรมาเนียต้องสูญเสียดินแดนทางทิศเหนือให้แก่สหภาพโซเวียต [[คำตัดสินกรุงเวียนนาครั้งที่สอง]] ทำให้โรมาเนียต้องยกแคว้นทรานซิลวาเนียตอนบนให้แก่ฮังการี และ[[สนธิสัญญาเมืองคราโจวา]] โรมาเนียต้องยกแคว้นโดบรูจากมห้แก่[[บัลแกเรีย]] ในโรมาเนียเองก็มีแนวคิด[[โรมาเนียอันยิ่งใหญ่]] ซึ่งมีเป้าหมายที่จะรวมตัวกับ[[นาซีเยอรมนี]]
 
[[บัลแกเรีย]] ซึ่งเป็นพันธมิตรกับเยอรมนีในช่วงสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง ได้สูญเสียดินแดนให้แก่[[กรีซ]] [[โรมาเนีย]]และ[[ยูโกสลาเวีย]] ในช่วงสงครามโลกครั้งที่หนึ่งและใน[[สงครามคาบสมุทรบอลข่านครั้งที่สอง]]
บรรทัด 227:
ในปี 1939 กองทัพญี่ปุ่นโจมตีจากทางเหนือของ[[แมนจูกัว]]เข้าสู่เขต[[ไซบีเรีย]] ซึ่งถูกตีแตกกลับมาโดยกองทัพโซเวียตภายใต้การนำของนายพล[[กิออร์กี้ ชูคอฟ]] หลังจากการรบครั้งนี้ สหภาพโซเวียตและญี่ปุ่นก็เป็นมิตรกันเรื่อยมาจนกระทั่งปี 1945 ญี่ปุ่นได้เปลี่ยนแผนการของตนโดยหาทางขยายอาณาเขตของตนลงไปทางใต้ และนำไปสู่ความขัดแย้งกับสหรัฐอเมริกาบนแผ่นดินฟิลิปปินส์ และแนวเส้นทางเดินเรือของ[[หมู่เกาะอินเดียตะวันออกของดัตช์]] ส่วนทางด้านสหภาพโซเวียตก็ได้มุ่งเป้าไปทางทิศตะวันตก และคงทหารแดงไว้ประมาณ 1,000,000-1,500,000 นายเพื่อรักษาแนวชายแดนที่ติดกับญี่ปุ่น
 
=== สนธิสัญญาโมโลตอฟ-ริบเบนทรอปทรอพ ===
[[สนธิสัญญาโมโลตอฟ-ริบเบนทรอปทรอพ]]เป็นเพียงแต่[[สนธิสัญญาไม่รุกรานระหว่างกัน]]ระหว่างนาซีเยอรมนีและสหภาพโซเวียต ซึ่งลงนามใน[[กรุงมอสโก]]เมื่อวันที่ [[23 สิงหาคม]] [[ค.ศ. 1939]] ระหว่างรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศโซเวียต [[วีเชสลาฟ โมโลตอฟ]] และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศเยอรมนี [[โจอาคิม วอน ริบเบนทรอบทรอพ]]
 
ในปี 1939 ทั้งนาซีเยอรมนีและสหภาพโซเวียตต่างก็ยังไม่พร้อมที่จะทำสงครามระหว่างกัน สหภาพโซเวียตซึ่งเสียดินแดนโปแลนด์ตั้งแต่ปี [[ค.ศ. 1920]] แม้ว่าสนธิสัญญาโมโลตอฟ-ริบเบนทรอบทรอพจะเป็นสนธิสัญญาไม่รุกรานกันอย่างเป็นทางการ แต่ทว่าตอนท้ายของสนธิสัญญาดังกล่าวก็ยังมีข้อตกลงลับต่อท้ายสนธิสัญญา ซึ่งเป็นการแบ่ง[[ฟินแลนด์]] [[เอสโตเนีย]] [[ลัตเวีย]] [[ลิทัวเนีย]] [[โปแลนด์]]และ[[โรมาเนีย]] ให้อยู่ภายใต้[[เขตอิทธิพล]]ของกันและกัน
[[สนธิสัญญาโมโลตอฟ-ริบเบนทรอป]]เป็นเพียงแต่[[สนธิสัญญาไม่รุกรานระหว่างกัน]]ระหว่างนาซีเยอรมนีและสหภาพโซเวียต ซึ่งลงนามใน[[กรุงมอสโก]]เมื่อวันที่ [[23 สิงหาคม]] [[ค.ศ. 1939]] ระหว่างรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศโซเวียต [[วีเชสลาฟ โมโลตอฟ]] และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศเยอรมนี [[โจอาคิม วอน ริบเบนทรอบ]]
 
ในปี 1939 ทั้งนาซีเยอรมนีและสหภาพโซเวียตต่างก็ยังไม่พร้อมที่จะทำสงครามระหว่างกัน สหภาพโซเวียตซึ่งเสียดินแดนโปแลนด์ตั้งแต่ปี [[ค.ศ. 1920]] แม้ว่าสนธิสัญญาโมโลตอฟ-ริบเบนทรอบจะเป็นสนธิสัญญาไม่รุกรานกันอย่างเป็นทางการ แต่ทว่าตอนท้ายของสนธิสัญญาดังกล่าวก็ยังมีข้อตกลงลับต่อท้ายสนธิสัญญา ซึ่งเป็นการแบ่ง[[ฟินแลนด์]] [[เอสโตเนีย]] [[ลัตเวีย]] [[ลิทัวเนีย]] [[โปแลนด์]]และ[[โรมาเนีย]] ให้อยู่ภายใต้[[เขตอิทธิพล]]ของกันและกัน
 
ภายหลังจากสนธิสัญญาดังกล่าว ประเทศที่ได้กล่าวมาข้างต้นก็ได้ถูกรุกราน โดยถูกยึดครองหรือถูกบังคับให้ยกดินแดนให้แก่สหภาพโซเวียต นาซีเยอรมนี หรือทั้งสองประเทศ
 
=== การรุกรานโปแลนด์ ===
 
{{บทความหลัก|การรุกรานโปแลนด์ (1939)|การรุกรานโปแลนด์ของสหภาพโซเวียต (1939)}}
 
ได้มีการถกเถียงกันว่าในปี 1933 โปแลนด์ได้พยายามที่จะชักจูงให้ฝรั่งเศสเข้าร่วมกับตนในความพยายามที่จะโจมตีเยอรมนีหลังจากที่พรรคนาซีมีอำนาจในประเทศเยอรมนี เหตุการณ์อันตึงเครียดที่เกิดขึ้นระหว่างโปแลนด์และเยอรมนีนั้นเกี่ยวข้องกับ[[นครเสรีดานซิก]]และ[[ฉนวนโปแลนด์]] เหตุการณ์นี้ได้สงบลงในปี 1934 หลังจากการลงนามในสนธิสัญญาไม่รุกรานระหว่างกัน แต่ในฤดูใบไม้ผลิปี 1939 เหตุการณ์อันตึงเครียดก็ได้เกิดขึ้นอีกครั้ง และท้ายที่สุด หลังจากได้ยื่นข้อเสนอมากมาย เยอรมนีก็ได้ประกาศยุติความสัมพันธ์ทางการทูต และไม่นานหลังจากสนธิสัญญาโมโลตอฟ-ริบเบนทรอบทรอพได้ลงนาม การโจมตีโปแลนด์ก็ได้เริ่มต้นขึ้นในวันที่ [[1 กันยายน]] [[ค.ศ. 1939]] อังกฤษและฝรั่งเศสซึ่งเคยรับประกันความเป็นเอกราชของโปแลนด์ และได้ยื่นคำขาดแก่เยอรมนีให้ถอนกำลังออกจากโปแลนด์โดยทันที เยอรมนีปฏิเสธ ดังนั้น ทั้งสองประเทศจึงประกาศสงครามกับเยอรมนี แต่ทว่าทั้งสองก็มิได้ให้ความช่วยเหลือแต่อย่างใดนัก ส่วนทางด้านตะวันออก สหภาพโซเวียตรุกรานโปแลนด์ในวันที่ [[17 กันยายน]]
 
=== การโจมตีสหภาพโซเวียต ===