ผลต่างระหว่างรุ่นของ "แมวป่าหัวแบน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Luckas-bot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.7.1) (โรบอต เพิ่ม: ca:Gat de cap pla
Torpido (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 3:
| color = pink
| name = แมวป่าหัวแบน
| image = Prionailurus planiceps
| image = Imageแมวป่าหัวแบน.jpg
| image_width = 200px
| status = vu
บรรทัด 11:
| ordo = [[Carnivora]]
| familia = [[Felidae]]
| genus = ''[[Prionailurus]]''
| species = ''P. planiceps''
| binomial = '''''Prionailurus planiceps'''''
| binomial_authority = Vigors and Horsfield, [[ค.ศ. 1827|1827]]
| synonyms = *''Felis planiceps''
*''Ictailurus planiceps''
 
}}
{{commons|CategoryPrionailurus planiceps}}
'''แมวป่าหัวแบน''' แมวป่าชนิดหนึ่ง มี[[ชื่อวิทยาศาสตร์]]ว่า ''Prionailurus planiceps'' อยู่ในวงศ์เสือและสิงโต ([[Felidae]]) โดยเป็นแมวป่าขนาดเล็ก ขาและหางสั้น ใบหูเล็ก ขนตามลำตัวสีน้ำตาลแดงหรือส้ม ส่วนปลายของขนแต่ละเส้นมีขาวปนเทาหรือเหลืองอ่อน ลักษณะเด่นคือ หัวที่มีรูปร่างยาวและแบน อันเป็นที่มาของชื่อ ลูกแมวป่าหัวแบนจะมีจุดสีขาวบริเวณหลังหู อุ้งเท้าแคบและยาว มีขนากลำตัวและหัวยาว 46.5 - 48.5 ซ.ม. ความยาวหาง 12.8 - 13 ซ.ม. น้ำหนัก 1.5 - 2.2 ก.ก.
มีการกระจายพันธุ์อยู่ทาง[[ภาคใต้]]ของ[[ประเทศไทย]] [[มาเลเซีย]] [[สุมาตรา|เกาะสุมาตรา]]และ[[บอร์เนียว|เกาะบอร์เนียว]] โดยอาศัยและหากินอยู่ตามพื้นที่ชุ่มน้ำ เช่น [[ป่าพรุ]] หรือป่าที่น้ำท่วมขังหรือพื้นที่ใกล้แหล่งน้ำ อาหารได้แก่ สัตว์ขนาดเล็ก เช่น [[กบ]] [[ปลา]] [[สัตว์น้ำ]]ชนิดต่าง ๆ รวมถึงผลไม้บางประเภทด้วย จัดเป็นเสือชนิดที่หายากชนิดหนึ่งของโลก เนื่องจากพบเห็นตัวได้ยากและมีรายงานพบเห็นในธรรมชาติเพียงไม่กี่ครั้ง แม้แต่ภาพถ่ายก็ยังมีเพียงไม่กี่รูปเท่านั้น สถานะของแมวป่าหัวแบนใน[[สหภาพนานาชาติเพื่อการอนุรักษ์ธรรมชาติและทรัพยากรธรรมชาติ]] (IUCN) จัดให้อยู่ในระดับ LR/nt คือ สัตว์ที่มีความเสี่ยงน้อยต่อการสูญพันธุ์แต่อาจเป็นไปได้ที่จะเข้าสู่สถานภาพมีความเสี่ยงสูงต่อการสูญพันธุ์ในอนาคต