ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การยับยั้ง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
WikitanvirBot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.7.1) (โรบอต เพิ่ม: et:Veto
Poonyo (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 1:
'''การยับยั้ง''' ([[ภาษาอังกฤษ{{lang-en|อังกฤษ]]veto :- veto) ซึ่งบางทีเรียกทับศัพท์อ่านว่า '''วีโต้'''}}) โดยคำใน[[ภาษาอังกฤษ]]มี[[รากศัพท์]]มาจาก[[ภาษาละติน]] แปลว่า ''ฉันปฏิเสธ'' หรือ ''ฉันไม่อนุญาต'' เป็นสิทธิทางการเมืองที่ให้แก่องค์กรหรือบุคคล โดยเฉพาะประมุขฝ่ายบริหาร เช่น สิทธิที่จะยับยั้ง[[กฎหมาย]]ไว้ชั่วระยะเวลาหนึ่งโดยการไม่ทรงลง[[พระปรมาภิไธย]]ของ[[พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว]] หรือการไม่ลงนามของ[[ประธานาธิบดี]]
{{รอการตรวจสอบ}}
'''การยับยั้ง''' ([[ภาษาอังกฤษ|อังกฤษ]] : veto) ซึ่งบางทีเรียกทับศัพท์ว่า '''วีโต้''' โดยคำในภาษาอังกฤษมี[[รากศัพท์]]มาจาก[[ภาษาละติน]] แปลว่า ''ฉันปฏิเสธ'' หรือ ''ฉันไม่อนุญาต'' เป็นสิทธิทางการเมืองที่ให้แก่องค์กรหรือบุคคล โดยเฉพาะประมุขฝ่ายบริหาร เช่น สิทธิที่จะยับยั้ง[[กฎหมาย]]ไว้ชั่วระยะเวลาหนึ่งโดยการไม่ทรงลง[[พระปรมาภิไธย]]ของ[[พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว]] หรือการไม่ลงนามของ[[ประธานาธิบดี]]
 
ใน[[คณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติ|คณะมนตรีความมั่นคง]]แห่ง[[สหประชาชาติ]] สมาชิกถาวร 5 ประเทศมีสิทธิที่จะใช้อำนาจยับยั้งมติใด ๆ ของที่ประชุมในกรณีที่ไม่เห็นด้วยกับข้อเสนอซึ่งทำให้ข้อเสนอนั้น ๆ เป็นอันตกไป
 
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
{{เริ่มอ้างอิง}}
* เดโช สวนานนท์, พจนานุกรมศัพท์การเมือง, พ.ศ. 2549, หน้า 191
* The Columbia Encyclopedia, Sixth Edition
{{จบอ้างอิง}}
{{โครงการเมือง}}
 
[[หมวดหมู่:นิติศาสตร์]]
เส้น 13 ⟶ 14:
[[หมวดหมู่:กฎหมายมหาชน]]
[[หมวดหมู่:การเมือง]]
{{โครงการเมือง}}
 
[[ar:حق النقض]]