ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ลัดดาแลนด์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ทำไมไม่มีชื่อ "ประดิษฐ์"
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 2:
{{อย่าเพิ่งลบ|มีการอภิปราย}}
{{ขาดความสำคัญ}}
 
ด้วยโครงการจัดสรรอันยิ่งใหญ่ของผู้หญิงท่านหนึ่ง อ้างกันว่าคือ “คุณนายลัดดา” (ขอสงวนนามสกุล) นักธุรกิจการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ ซึ่งสามีของท่านคือนายทหารผู้เป็นเจ้าของกิจการ “โรงหนังเวียงพิงค์”
 
การเล็งเห็นศักยภาพของที่ดินรกร้างผืนใหญ่อยู่ใกล้ ทางขึ้นดอยสุเทพ”พื้นที่ผืนนี้จึงถูกพัฒนาให้เป็น อุทยานการท่องเที่ยวขนาดใหญ่ ต้อนรับแขกบ้านแขกเมือง ซึ่งในยุคนั้นยังไม่มีสถานที่ใดโดดเด่นเท่า
 
“แล้วโครงการขนาดใหญ่ที่ครองใจผู้คนในยุคนั้นก็เกิดขึ้น ด้วยการจัดศูนย์แสดง-สาธิต ศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่น ทั้งพิพิธภัณฑ์ชาวเขา การทำเครื่องเขิน การแกะสลักไม้ การทอผ้าไหม การแสดงฟ้อนรำต่างๆ ภายใต้การควบคุมของคณะ วัดเจ้าพ่อเม็งราย อันโด่งดัง
 
รวมไปถึงการมัดใจเด็กๆ และครอบครัว ด้วยการให้บริการช้าง ม้า และรถไฟเล็กให้นั่ง ด้วยค่าบริการประมาณ 8 หรือ 10 บาท มี “น้ำมะเกี๋ยง” (น้ำลูกหว้า) เป็นที่แรกและเป็นเอกลักษณ์ของสถานที่แห่งนี้ รวมทั้งมีการเปิดเพลงของคณะ ดิอิมพอสสิเบิ้ล ซึ่งโด่งดังในขณะนั้นเกือบตลอดทั้งวัน...”
สิ่งที่เป็นที่เชิดหน้าชูตาและโดดเด่นที่สุดของสถานที่แห่งนี้ได้แก่สวนดอกไม้เมืองหนาวพันธุ์ต่างประเทศ และ “รังกล้วยไม้”(สวนกล้วยไม้) ใหญ่ที่สุดในภาคเหนือ
 
ตระการตาด้วยพันธุ์พื้นเมืองและต่างประเทศกว่าร้อยชนิด ทำให้สถานที่แห่งนี้มีผู้มาเที่ยวชมกันเป็นจำนวนมากโดยเฉพาะในช่วงฤดูหนาว โดยมีบ้านขนาดใหญ่ของคุณนายลัดดา ซึ่งปลูกอยู่ใกล้ๆ ประตูทางเข้าลัดดาแลนด์ เป็นเสมือนสิ่งบ่งชี้กำไรจากผลประกอบการ ทว่าไม่มีสิ่งใดยั่งยืน หรือคงอยู่ตลอดกาล “เมื่อบ้านเมืองต้องพัฒนา” ความเจริญของวิถีชีวิตและการเข้ามาของศูนย์การค้าในท้องถิ่น ส่งผลให้สถานที่แห่งนี้ เป็นเพียง “ที่เก่าๆ” ซึ่งไม่มีความหมายสำหรับผู้คนอีกต่อไป
 
 
'''ลัดดาแลนด์''' เป็นหมู่บ้านจัดสรรแห่งหนึ่งใน[[จังหวัดเชียงใหม่]] ในราวปี [[พ.ศ. 2520]] เป็นสถานที่ท่องเที่ยวที่มีชื่อเสียง ประกอบด้วย สวนสนุก การแสดงมหรสรรพต่างๆ ตั้งอยู่ริมถนนเลียบคลองชลประทาน [[ตำบลช้างเผือก]] [[อำเภอเมืองเชียงใหม่]] [[จังหวัดเชียงใหม่]] โดยมีเจ้าของ คือ พลตรีประดิษฐ์ พันธาภา{{อ้างอิง}} และนางลัดดา พันธาภา<ref>[http://library.cmu.ac.th/ntic/en_picturelanna/detail_picturelanna.php?picture_id=561&keyword=Ladda The arched gate to Ladda Land, Chiang Mai, 1969.]ภาพล้านนาในอดีต</ref>