ผลต่างระหว่างรุ่นของ "นิกโกเลาะ ปากานีนี"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Tiemianwusi (คุย | ส่วนร่วม)
Tiemianwusi (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{Infobox Person
|name = นิกโคโลกโกเลาะ ปากานีนี<br />Niccolò Paganini
|image = NiccoloPaganini.jpeg
|image_size =
บรรทัด 48:
}}
 
'''นิกโคโลกโกเลาะ ปากานินีนีนี''' (Niccolò Paganini) ([[27 สิงหาคม]] [[ค.ศ. 1782]] - [[27 พฤษภาคม]] [[ค.ศ. 1840]]) เป็นนัก[[ไวโอลิน]] [[วิโอลา]] [[กีตาร์]]ใน[[ยุคโรแมนติก]]ชาว[[อิตาลี]]ที่มีชื่อเสียง ได้รับการยอมรับถึงฝีมือการเล่นว่าเป็นที่หนึ่งในยุคนั้น ทั้งยังได้พัฒนาเทคนิคการสีไวโอลินแบบใหม่ เขายังมีผลงานประพันธ์[[โซนาตา]] [[คอนแชร์โต]] และ[[คาปรีซ์]]สำหรับการเดี่ยวไวโอลินจำนวนหลายชิ้น ที่มีชื่อเสียงที่สุด คือ [[คาปรีซ์หมายเลข 24 (ปากานินี)|Caprice No. 24]] นอกจากนี้ปากานินียังเป็นแรงบันดาลใจให้กับคีตกวีสำคัญในยุคต่อมา เช่น [[โยฮันเนส บราห์ม]] และ[[แซร์เก รัคมานินอฟ]]
 
ปากานินีนีนีหัดเล่นดนตรีตั้งแต่อายุ 5 ปี โดยเล่น[[แมนโดลิน]]ของบิดา เริ่มเล่นไวโอลินเมื่ออายุ 7 ปี และเริ่มแสดงพรสวรรค์ออกมา จนได้รับทุนการศึกษาด้านดนตรี เมื่อโตขึ้นได้ย้ายไปเรียนไวโอลินที่[[ปาร์มา]] ก่อนจะย้ายไป[[ฟลอเรนซ์]] โดยมีชื่อเสียงในระดับท้องถิ่น
 
ปากานินีนีนีเริ่มมีชื่อเสียงในวงกว้างจากการเล่น[[คอนเสิร์ต]]ที่[[โรงอุปรากรลา สกาลา]] เมือง[[มิลาน]] ในปี [[ค.ศ. 1813]] ต่อมาได้เดินทางไปเล่นในต่างเมือง เช่นที่ [[เวียนนา]] ในปี ค.ศ. 1828 [[ลอนดอน]] ในปี ค.ศ. 1831 และ[[ปารีส]] ในปี ค.ศ. 1831 และ 1833
 
ช่วงบั้นปลายชีวิต ปากานินีป่วยด้วยโรคจากพิษของสาร[[ปรอท]]ที่ใช้ในการรักษาโรค[[ซิฟิลิส]] จนต้องเลิกเล่นดนตรีในปี ค.ศ. 1834 และเสียชีวิตด้วย[[โรคมะเร็ง]][[คอหอย]]ในปี ค.ศ. 1840
 
นิกโคโลกโกเลาะ ปากานินีนีนี มีเครื่องดนตรีที่ใช้ประจำตัวอยู่หลายชิ้น ทั้งที่ผลิตโดย[[อันโตนิโอ อามาติตี]] [[นิกโคโลกโคเลาะ อามาติตี]] [[อันโตนิโอ สตราดิวารี‎]] แต่ชิ้นที่สำคัญที่สุด คือไวโอลินที่ผลิตโดย [[กุยเซ็ปเปจูเซปเป กัวเนอรี]] ที่มีชื่อว่า "Il Cannone Guarnerius" ([[ปืนใหญ่]] ผลิตในปี [[ค.ศ. 1743]]) ปากานินีนีนีได้รับไวโอลินตัวนี้เป็นของขวัญจากเพื่อน หลังจากสูญเสียไวโอลินตัวอื่นไปจากการพนัน และใช้ไวโอลินตัวนี้ในการเล่นมาตั้งแต่ปี ค.ศ. 1803 <ref>[http://www.giordanoviolins.com/english/cannone.html Niccolò Paganini's violin, The "Cannone" of Joseph Guarnerius del Gesù]</ref> ตลอดมาจนกระทั่งเสียชีวิต ปากานินีนีนีได้อุทิศไวโอลิน Il Cannonne ให้เป็นสมบัติของเมืองเจนัว ปัจจุบันจัดแสดงอยู่ที่ศาลากลางเมืองเจนัวพร้อมกับไวโอลินตัวจำลอง และได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นสมบัติแห่งชาติของอิตาลี
 
== อ้างอิง ==