ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เลียง ไชยกาล"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Pongsak ksm (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Pongsak ksm (คุย | ส่วนร่วม)
จัดรูปแบบ +เก็บกวาดด้วยสจห.
บรรทัด 3:
| image = Img0710000043.gif
| imagesize = 150px
| order = [[รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม]]
| order =
| term_start = [[พ.ศ. 2492]]
| term_end = [[พ.ศ. 2494]]
| predecessor = [[สวัสดิ์ ส.สวัสดิเกียรติ]]
| predecessor =
| successor = [[มุนี มหาสันทนะ เวชยันต์รังสฤษฎ์]]
| successor =
| birth_date =
| birth_place =
บรรทัด 18:
| footnotes =
}}
'''นายเลียง ไชยกาล''' นักการเมืองไทย อดีต[[รัฐมนตรีว่าการ[[กระทรวงยุติธรรม]] นักการเมืองไทยในและอดีตหัวหน้า[[พรรคประชาชน]] เป็น[[ผู้แทนราษฎร]]ประเภทที่ 1 ของ[[จังหวัดอุบลราชธานี]]<ref>[http://www.oknation.net/blog/canthai/2007/12/21/entry-2 การเมืองจังหวัดอุบลราชธานี- นักการเมืองดี ศรีอุบล ]</ref> เป็นผู้ที่มีชื่อเสียงลือลั่นจากการเป็นผู้อภิปราย เรื่องการฉวยโอกาสซื้อที่ดินอันเป็น[[ทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์]] ของ[[คณะราษฎร|พรรคคณะราษฎร์]] เมื่อปี [[พ.ศ. 2480]] ซึ่งต่อมาได้กลายเป็นกรณีร้อนทำให้ผู้มีอำนาจหลายคนต้องลาออกรวมไปถึงการ[[การยุบสภาผู้แทนราษฎรไทย|ยุบสภา]]ของ[[คณะรัฐมนตรีคณะที่ 6 ของไทย|คณะรัฐบาล]]ด้วย ซึ่งเป็นการยุบสภาครั้งแรกในประวัติศาสตร์การเมืองไทย ในส่วนตัวนายเลียงเองก็ถูกจดหมายข่มขู่เอาชีวิต ต่อมาได้เข้าสังกัดกับ[[พรรคก้าวหน้า (พ.ศ. 2488)|พรรคก้าวหน้า]] ที่มี [[หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช]] เป็นหัวหน้าพรรค
 
ในเหตุการณ์[[กบฏพระยาทรงสุรเดช]] นายเลียงได้มีชื่อว่าเป็นหนึ่งในผู้ต้องหาในการสมคบคิดในการสังหารจอมพล [[แปลก พิบูลสงคราม|ป. พิบูลสงคราม]] ด้วย ต่อมาในปี [[พ.ศ. 2489]] ที่มีการยุบพรรคก้าวหน้าร่วมกับ[[พรรคประชาธิปัตย์]] นายเลียงก็ได้เข้าเป็นสมาชิกพรรคประชาธิปัตย์ และได้ทำหน้าที่ฝ่ายค้านอย่างแข็งขัน
บรรทัด 24:
หลังการ[[รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2491|รัฐประหารในปี พ.ศ. 2491]] ที่สมาชิกพรรคประชาธิปัตย์หลายคนได้แยกจากพรรคไป นายเลียง ไชยกาล ก็เป็นหนึ่งในนั้นด้วย และได้ก่อพรรคของตนเองชื่อ พรรคประชาชน มี นาย[[สวัสดิ์ คำประกอบ]] เป็นรองหัวหน้าพรรค และ นายประสิทธิ์ ชูพินิจ เป็นเลขาธิการพรรค ซึ่งต่อมา นาง[[อรพิน ไชยกาล]] ภรรยาของนายเลียงก็ได้ลงสมัคร ส.ส.จังหวัดอุลราชธานี ในปี พ.ศ. 2492 และได้รับเลือกตั้งเป็นผู้แทนหญิงคนแรกของไทยด้วย
 
ต่อมาในปี พ.ศ. 2511 นายเลียง ได้จัดตั้งพรรคการเมืองขึ้น โดยรับหน้าที่เป็นหัวหน้าพรรค คือ [[พรรคประชาชน]]<ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2511/D/119/3601.PDF ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง จดทะเบียนพรรคการเมือง (พรรคประชาชน)]ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 85 ตอนที่ 119ง วันที่ 24 ธันวาคม 2511</ref>
==อ้างอิง==
 
* [http://www.oknation.net/blog/canthai/2007/12/21/entry-2 การเมืองจังหวัดอุบลราชธานี- นักการเมืองดี ศรีอุบล ]
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
 
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
* {{อ้างหนังสือ
| ผู้แต่ง = ดารารัตน์ เมตตาริกานนท์
| ชื่อหนังสือ = การเมืองสองฝั่งโขง : <small>งานค้นคว้าวิจัยระดับปริญญาเอกของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เรื่อง <u>การรวมกลุ่มทางการเมืองของ ส.ส.อีสาน พ.ศ. ๒๔๗๖-๒๔๙๔</u> </small>
| URL =
| จังหวัด = กรุงเทพฯ
| พิมพ์ที่ = ศิลปวัฒนธรรม
| ปี = 2546
| ISBN = 974-322-844-6
| จำนวนหน้า = 558
}}