ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระกริ่งปวเรศ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Natachai (คุย | ส่วนร่วม)
Natachai (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 35:
 
'''การสร้างครั้งที่ 6''' ในปี [[พ.ศ. 2434]] (บรรณานุกรมหอสมุดแห่งชาติ มหามกุฎราชวิทยาลัย หน้า 5 วรรค 2) สมเด็จฯกรมพระยาปวเรศฯไม่ได้ออกแบบ จัดสร้างเพื่อเป็นอนุสรณ์ทรงได้รับมหาสมณุตมาภิเษก ตำแหน่งสมเด็จพระสังฆราชองค์ที่ 8 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ออกแบบโดย ช่างสิบหมู่ พระบรมวงศานุวงศ์ ไวยาวัชกรวัดบวรนิเวศ สมัยนั้น มีหลายแบบทรงพิมพ์ บางแบบใช้แม่พิมพ์เก่า โลหะก็ไม่เหมือนกัน บางองค์ก็เป็นแม่พิมพ์ใหม่ มีทั้งแบบที่อยู่ในขันน้ำมนต์ ตลับสีผึ้ง และยอดไม้เท้าของ[[สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์]] จำนวนการสร้างไม่ได้ระบุไว้.........การสร้าง พระกริ่งปวเรศ รุ่น 1 [[พ.ศ. 2434]] หลวงชำนาญเลขา (หุ่น) (ในครั้งนี้เมื่อ [[พ.ศ. 2434]])ปรากฏเห็นเป็นหลักฐานชัดเจนที่ได้จดบันทึกจากบรรณานุกรมหอสมุดแห่งชาติ<ref>มอนต์ จันทนากร, ทำเนียบพระกริ่ง พระชัยวัฒน์</ref>
*วาระที่ 1 วันที่ [[1 มีนาคม]] [[พ.ศ. 2434]] การตั้งพระนามกรม พระเจ้าน้องยาเธอ รัชกาลที่ 5 พระเจ้าน้องยาเธอ [[พระองค์เจ้าโสณบัณฑิต]] ได้รับการสถาปนา เป็น กรมหมื่นพิทยลาภพฤฒิธาดา<ref>ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2434/045/408.PDF ประกาศตั้งกรมพระองค์เจ้าโสณบัณฑิตย์], เล่ม 8, ตอน ๔๕45, 7 กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๔๓๔2434, เล่ม ๔๐๘408</ref>
*วาระที่ 12 วันที่ [[10 กันยายน]] [[พ.ศ. 2434]] [[สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิรุณหิศ สยามมกุฎราชกุมาร]] ทรงพระผนวช
*วาระที่ 23 "ไม่ทราบวันที่"พระราชพิธีเฉลิมพระนามในพระสุพรรณบัตร พระเจ้าลูกยาเธอเจ้าฟ้าบริพัตร ภายหลังเปลี่ยนเป็น "[[สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าบริพัตรสุขุมพันธุ์ กรมพระนครสวรรค์วรพินิต]]"และพระเจ้าลูกยาเธอเจ้าฟ้าจักรพงษ์ ภายหลังเปลี่ยนเป็น "[[สมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถ]]" เป็นสมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอทั้งสองพระองค์
*วาระที่ 34 วันที่ [[27 พฤศจิกายน]] พระราชพิธีมหาสมณุตตมาภิเศก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ "กรมพระปวเรศวริยาลงกรณ์" ได้รับสถาปนาเลื่อนพระอิสริยยศขึ้นเป็นพระเจ้าบรมวงศ์เธอ "กรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์"
 
== ความเชื่อและคตินิยม ==