ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การตรวจนับเม็ดเลือดอย่างสมบูรณ์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ArthurBot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต เพิ่ม: sl:Krvna slika
Xqbot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต เพิ่ม: ta:முழுமையான குருதி எண்ணிக்கை; ปรับแต่งให้อ่านง่าย
บรรทัด 28:
วิธีการตรวจโดยใช้คนนั้นมีข้อดีที่สามารถตรวจหาเซลล์ที่ผิดปกติได้ดีกว่าเครื่องอัตโนมัติ แต่ก็อาจจะพบความคลาดเคลื่อนได้เนื่องจากเป็นการนับเซลล์ที่น้อยกว่าเมื่อเทียบกับเครื่องอัตโนมัติ การตรวจนับเม็ดเลือดอย่างสมบูรณ์ภายใต้กล้องจุลทรรศน์นั้นไม่เพียงแต่สามารถตรวจหาเซลล์ที่ผิดปกติเท่านั้น แต่ยังสามารถตรวจดูความแตกต่างของรูปร่างเม็ดเลือดแดงซึ่งเป็นการวินิจฉัยที่สำคัญอย่างหนึ่ง การตรวจด้วยเครื่องอัตโนมัตินั้นจะมีความรวดเร็ว การตรวจนับจำนวนเซลล์ ขนาดของเม็ดเลือดโดยเฉลี่ย รวมถึงความแตกต่างของขนาดเม็ดเลือดจะมีความน่าเชื่อถือ แต่เครื่องอัตโนมัตินั้นไม่สามารถบอกถึงรูปร่างของเม็ดเลือดได้ รวมถึงอาจพบความผิดพลาดในการคำนวณจำนวนเกล็ดเลือดอันเนื่องมาจาก EDTA นั้นทำให้เกร็ดเลือดเกิดการเกาะกลุ่มกัน (clump) ซึ่งถ้าหากตรวจจำนวนเกร็ดเลือดผ่านทางฟิล์มเลือดนั้นจะมาสามารถเห็นการเกาะกลุ่มของเกร็ดเลือดได้ทำให้สามารถประมาณจำนวนเกร็ดเลือดอย่างคร่าว ๆ ได้ว่ามีจำนวนปกติ ต่ำ หรือสูง แต่ไม่สามารถรายงานจำนวนสุทธิของเกร็ดเลือดได้
 
== ผลลัพธ์ ==
=== เม็ดเลือดแดง ===
* เม็ดเลือดแดงสุทธิ - จำนวนของเม็ดเลือดสุทธิต่อลิตร
บรรทัด 83:
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
* [http://www.labtestsonline.org/understanding/analytes/cbc/test.html Complete Blood Count]
 
[[หมวดหมู่:โลหิตวิทยา]]
บรรทัด 101:
[[sl:Krvna slika]]
[[sv:Blodstatus]]
[[ta:முழுமையான குருதி எண்ணிக்கை]]
[[tr:Hemogram]]
[[uk:Клінічний аналіз крові]]