ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สกุลยาสุฮิโกทาเกีย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 19:
มีรูปร่างโดยรวม คือ มีลำตัวยาว แบนข้าง คอดหางใหญ่ มีหนังหนาคลุมเกล็ดมิด มีเขี้ยวพับเก็บได้ในร่องบริเวณด้านหน้าของตา ปากเล็กยื่นแหลมมีหนวด 3 คู่ รอบปาก
 
ปลาในสกุลนี้ เดิมเคยจัดอยู่ในสกุล ''[[Botia]]'' แต่ในปี [[ค.ศ. 2002]] ดร.Maurice[[มัวริซ Kottelatคอทเทเลท]] นักมีนวิทยาชาวสวิตเซอร์แลนด์ที่พำนักอยู่ในสิงคโปร์ ซึ่งเป็นผู้ศึกษาปลาน้ำจืดในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้นี้ ได้ทำการแยกสกุลของปลาหมูเสียใหม่ หลายชนิด โดยที่สกุล ''Yasuhokotakia'' นี้ โดยมากจะมีรูปร่างเล็กกว่าสกุล ''Botia'' และเป็นสกุลที่พบได้ในภูมิภาค[[อินโดจีน]] โดยทำการตั้งชื่อสกุลเพื่อเป็นเกียรติแก่ ดร.Yasuhiko Taki นักเลี้ยงปลาและสำรวจปลา[[ชาวญี่ปุ่น]]<ref>Kottelat, M. 2004. ''Botia kubotai'', a new species of loach (Teleostei: Cobitidae) from the Ataran River basin (Myanmar), with comments on botiine nomenclature and diagnosis of a new genus. Zootaxa, 401: 1-18.</ref>
 
กระจายพันธุ์ใน[[ปลาที่พบในลุ่มแม่น้ำโขง|ลุ่มแม่น้ำโขง]]และ[[ปลาที่พบในลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยา|ลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยา]]มีทั้งหมด 9 [[สปีชีส์|ชนิด]] ได้แก่<ref>[http://www.itis.gov/servlet/SingleRpt/SingleRpt ITIS]</ref>