ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การประมง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Jaiyen29 (คุย | ส่วนร่วม)
Taweetham (คุย | ส่วนร่วม)
BotKung (พูดคุย | หน้าที่เขียน | บล็อก) 11:22, 18 กรกฎาคม 2553 และอาจแตกต่างจาก รุ่นปัจจุบัน
บรรทัด 1:
[[ภาพ:Thailand nan river fishing.jpg|thumb|250px|[[ตกปลา|การจับปลา]]ของ[[คนไทย]]ที่[[แม่น้ำน่าน]]]]
'''การประมง''' หรือ '''ประมง''' หมายถึงการจัดการของมนุษย์ด้านการจับปลาหรือสัตว์น้ำอื่นๆ การดูแลรักษาปลาสวยงามและการแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ประมงเช่น น้ำมันปลา <ref>Castro and Huber 2003</ref> กิจกรรมการทำประมงจัดแบ่งได้ทั้งตามชนิดสัตว์น้ำและตามเขตเศรษฐกิจ เช่น การทำประมงปลาแซลมอนในอลาสก้า การทำประมงปลาคอดในเกาะลอโฟเทน ประเทศนอร์เวย์หรือการทำประมงปลาทูน่าในมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันออก และยังรวมถึงการเพาะปลูกในน้ำ (Aquaculture) ซึ่งหมายถึงการปลูกพืชหรือเลี้ยงสัตว์บางชนิดในน้ำ เพื่อใช้เป็นอาหารคนหรือสัตว์ เช่นเดียวกับเกษตรกรรมที่ทำบนพื้นดิน <ref>ราชบัณฑิตยสถาน 2549</ref> การทำฟาร์มในน้ำ เช่นฟาร์มปลา ฟาร์มกุ้ง ฟาร์มหอย ฟาร์มหอยมุก การเพาะปลูกในน้ำในสภาพแวดล้อมที่ควบคุมไว้ การเพาะปลูกในน้ำจืด น้ำกร่อย ในทะเล การเพาะปลูกสาหร่าย <ref name=“การเพาะปลูกในน้ำ” >Green, Bartholomew W. 2007. “Aquaculture” Microsoft Encarta Online Encyclopedia 2007 Retrieved on October 1, 2007, from http://encarta.msn.com </ref>ต่อมาได้มีการพัฒนาองค์ความรู้ด้านการประมงเป็นวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสาขาหนึ่งเรียกว่าวิทยาศาสตร์การประมง มีพื้นฐานจากวิชาชีววิทยา นิเวศวิทยา สมุทรศาสตร์ เศรษฐศาสตร์และการจัดการ มีการจัดศึกษาด้านการประมงในแง่มุมต่างๆ ทั้งระดับอนุปริญญา ปริญญาตรี ปริญญาโทและปริญญาเอก และการประมงมีบทบาทสำคัญในเชิงธุรกิจและอุตสาหกรรมของประเทศ จึงมีคำอื่นๆที่เกี่ยวข้องเช่น '''ธุรกิจการประมง'''ประมง” '''อุตสาหกรรมประมง'''ประมง” เกิดขึ้น
 
== การประมงในต่างประเทศ ==
บรรทัด 23:
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 9 พ.ศ. 2545-2549 และฉบับ ที่ 10 พ.ศ. 2550-2554 ส่งเสริมการวิจัยและพัฒนาสินค้าอาหารเพื่อให้เป็นแหล่งการผลิตอาหารแปรรูปที่สำคัญของโลกที่มีคุณภาพมาตรฐานและความปลอดภัยของอาหารเพื่อสร้างความเชื่อมั่นแก่ผู้บริโภคสินค้าในระยะยาวโดยมีกุ้งเป็นสินค้าเป้าหมายที่สำคัญ <ref>สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ 2551</ref>
 
'''ด้านการศึกษาวิทยาการด้านการประมง''' พัฒนาที่สำคัญเกิดจากการจัดการศึกษาและการวิจัยในระดับอุดมศึกษา ซึ่งเริ่มขึ้นในปี พ.ศ. 2486 โดยมี[[คณะประมง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์|คณะประมง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์]] เป็นผู้บุกเบิกการศึกษาด้านนี้ ปัจจุบันมีหลายสถาบันที่ทำการสอนวิทยาการประมง โดยมักเป็นการสอนในระดับสาขาวิชา รายวิชาที่ปรากฏในหลักสูตรของสถาบันต่างๆแบ่งเป็นกลุ่มต่างๆ ได้ดังนี้
=== การศึกษาประมงศาสตร์ในประเทศไทย ===
{{บทความหลัก|ประมงศาสตร์}}
'''ประมงศาสตร์''' คือความรู้ที่เกี่ยวข้องกับการ[[ประมง]]และ[[อุตสาหกรรม]] ทั้งเชิง[[วิทยาศาสตร์ธรรมชาติ]]และ[[วิทยาศาสตร์ประยุกต์]] รวมทั้ง[[เทคโนโลยี]]และ[[วิศวกรรมศาสตร์]]ที่เกี่ยวข้อง
 
1.กลุ่มการทำประมง ได้แก่ วิทยาศาสตร์ทางทะเล วิทยาศาสตร์การประมง
== นิยามศัพท์ทางประมงศาสตร์ ==
คำศัพท์ที่เกี่ยวข้องกับวิชาการประมงนั้น มีหลายคำที่มีนิยามศัพท์กว้างกว่านิยามทั่วไป เช่น
 
2.กลุ่มการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ ได้แก่ เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ การปรับปรุงพันธุ์สัตว์น้ำ การจัดการฟาร์มสัตว์น้ำ เทคโนโลยีการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ เทคโนโลยีการผลิตสัตว์น้ำ เทคโนโลยีการเลี้ยงกุ้ง การจัดการอาหารสัตว์น้ำ พันธุศาสตร์การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ การเพาะพันธุ์สัตว์น้ำ การผสมพันธุ์ปลา การปรับปรุงพันธุกรรมปลา โรคของสัตว์น้ำ คุณภาพน้ำสำหรับการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ ปฏิบัติการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ เทคนิคการวิจัยทางการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ การเพาะเลี้ยงปลาสวยงามและพรรณไม้น้ำ
''[[ประมง]]'' หมายถึง
*1. การจับสัตว์นํ้า ดํานํ้าหาปลา
*2. วิชา ความรู้ ที่ว่าด้วยการประมง เช่นเดียวกับคำว่า [[ปรัชญา]] ซึ่งนอกจากจะหมายถึง แนวความคิดแล้ว ยังหมายถึง วิชาที่ว่าด้วยความคิดด้วย
 
3.กลุ่มผลิตภัณฑ์ประมงและอุตสาหกรรมประมง ได้แก่ ผลิตภัณฑ์ประมง เทคโนโลยีการแปรรูปสัตว์น้ำและสาหร่าย จุลชีววิทยาผลิตภัณฑ์ประมงและมารีนไบโอเทคโนโลยี เคมีและฟิสิกส์ของผลิตภัณฑ์ประมง โภชนศาสตร์อาหารทะเล QC,QAและระบบคุณภาพ การวิเคราะห์และรับรองผลิตภัณฑ์สัตว์น้ำ การวางแผนการผลิต การวางผังโรงงานผลิตภัณฑ์ประมง การบริหารและวิเคราะห์ระบบอุตสาหกรรมประมง วิศวกรรมแช่เยือกแข็ง วิศวกรรมกระบวนการแปรรูปผลิตภัณฑ์ประมง ชีวพิษ การวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ประมง บรรจุภัณฑ์สำหรับผลิตภัณฑ์ประมง การใช้ประโยชน์จากเศษเหลือ เทคโนโลยีน้ำมันปลา เทคโนโลยีโปรตีนปลาเข้มข้น [[ชีวมวล]]ประมงสำหรับพลังงานทดแทน
''[[สัตว์น้ำ]]'' หมายถึงสิ่งมีชีวิตที่มีช่วงชีวิตอยู่ในน้ำหรือบริเวณน้ำท่วมถึง
*อาณาจักรสัตว์ [[กุ้ง]] [[หอย]] [[ปู]] [[ปลา]] และ [[ฟองน้ำ]] [[ปะการัง]] [[แมลงปอ]] [[กบ]] [[เต่า]] [[จระเข้]] [[วาฬ]] [[เป็ด]]
*อาณาจักรฟังไจ อาณาจักรโพรทิสตา[[จุลินทรีย์]] เป็นต้น
*อาจักรพืช [[พืชน้ำ]] พืชที่อยู่บริเวณริมน้ำ
*โครมาลวีโอลาตา [[สาหร่าย]]
 
4.กลุ่มชีววิทยาและนิเวศวิทยาประมง ได้แก่ ชีววิทยาประมง [[มีนวิทยา]] ชีววิทยาทางทะเล ชีววิทยาของปลา นิเวศวิทยาของปลา การจัดการเกี่ยวกับคุณภาพน้ำและภาวะมลพิษในแหล่งน้ำ นิเวศวิทยาทางน้ำ
''[[ผลิตภัณฑ์ประมง]]'' หมายถึงผลผลิตอันได้จากอุตสาหกรรมประมง แบ่งได้เป็น
*1.กลุ่มผลิตภัณฑ์อาหาร [[อาหารทะเลแช่เยือกแข็ง]] [[ปูอัด]] [[ปลากระป๋อง]] [[สาหร่ายอบแห้ง]]
*2.กลุ่มไม่ใช่อาหารหรือกลุ่มผลิตภัณฑ์ต่อเนื่อง [[น้ำมันตับปลา]] [[โภชนเภสัช]](nutraceutical) [[คอลลาเจน]] [[ไคโตแซน]] เลือดจระเข้อบแห้ง เครื่องหนังจระเข้ [[ชีวมวล|ชีวมวลทะเล]] [[เชื้อเพลิงสาหร่าย]]เป็นต้น
 
5.กลุ่มบริหารทรัพยากรประมง ได้แก่ การจัดการประมง การจัดการทรัพยากรประมง วิศวกรรมประมง วาริชวิศวกรรม การวิจัยและการนำเสนอข้อมูลด้านวิทยาศาตร์การประมงด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์
== สาขาวิชาทางประมงศาสตร์ ==
ในปัจจุบัน แบ่งได้ดังนี้
* กลุ่มการทำการประมง เช่น วิทยาศาสตร์การประมง วิทยาศาสตร์ทางทะเล
 
* กลุ่มผลิตสัตว์น้ำ เช่น เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ
 
* กลุ่มอุตสาหกรรมประมง เช่น ผลิตภัณฑ์ประมง
 
* กลุ่มนิเวศวิทยาประมงและธรรมชาติวิทยาประมง เช่น ชีววิทยาประมง วิทยาศาสตร์ทางทะเล
 
* กลุ่มบริหารทรัพยากรประมง เช่น การจัดการประมง
 
== การวิจัยและัพัฒนาการในประเทศไทย ==
ในประเทศไทยมีพัฒนาที่สำคัญเกิดจากการจัดการศึกษาและการวิจัยในระดับอุดมศึกษา ซึ่งเริ่มขึ้นเมื่อ 2 ก.พ. พ.ศ. 2486 โดยมี[[คณะประมง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์|คณะประมง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์]] เป็นผู้บุกเบิกการศึกษาด้านนี้
 
สำหรับสาขาทางประมงนั้น ได้ถูกแสดงในรายการข้างล่างนี้
 
<div style="height: 120px; overflow: auto; padding: 3px; border:1px solid #AAAAAA; reflist4" >
{{บน}}
'''[[ชีววิทยาประมง]]'''
*[[มีนวิทยา]]
*วาริชศาสตร์
*โรคสัตว์น้ำ
*ชีววิทยาทางทะเล
*ชีววิทยาของปลา
*นิเวศวิทยาของปลา
*การจัดการเกี่ยวกับคุณภาพน้ำและภาวะมลพิษในแหล่งน้ำ
*นิเวศวิทยาทางน้ำ
'''[[วิทยาศาสตร์ทางทะเล]]'''
* [[สมุทรศาสตร์]]
* สมุทรศาสตร์กายะ
* สมุทรศาสตร์เคมี
* สมุทรศาสตร์ชีวะ
* สมุทรศาสตร์ธรณี
* สมุทรศาสตร์อุตุนิยมวิทยา
'''[[เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ]]'''
*เทคโนโลยีการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ
*เทคโนโลยีการผลิตสัตว์น้ำ
*การจัดการฟาร์มสัตว์น้ำ
*เทคโนโลยีการเลี้ยงกุ้ง
*การจัดการอาหารสัตว์น้ำ
*พันธุศาสตร์การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ
*การปรับปรุงพันธุ์สัตว์น้ำ
*การเพาะพันธุ์สัตว์น้ำ
*การผสมพันธุ์ปลา
*การปรับปรุงพันธุกรรมปลา
*คุณภาพน้ำสำหรับการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ
*เทคนิคการวิจัยทางการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ
*การเพาะเลี้ยง[[ปลาสวยงาม]]และพรรณไม้น้ำ
{{กลาง}}
'''[[ผลิตภัณฑ์ประมง]]'''
*เทคโนโลยีการแปรรูปสัตว์น้ำและสาหร่าย
*จุลชีววิทยาผลิตภัณฑ์ประมง
*เ้ทคโนโลยีชีวภาพทางทะเ้ล
*เคมีและฟิสิกส์ของผลิตภัณฑ์ประมง
*โภชนศาสตร์อาหารทะเล
*QC,QAและระบบคุณภาพ
*การวิเคราะห์และรับรองผลิตภัณฑ์สัตว์น้ำ
*การวางแผนการผลิต
*การวางผังโรงงานผลิตภัณฑ์ประมง
*การบริหารและวิเคราะห์ระบบอุตสาหกรรมประมง
*วิศวกรรมแช่เยือกแข็ง
*วิศวกรรมกระบวนการแปรรูปผลิตภัณฑ์ประมง
*ชีวพิษ
*การวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ประมง
*บรรจุภัณฑ์สำหรับผลิตภัณฑ์ประมง
*การใช้ประโยชน์จากเศษเหลืออุตสหกรรมประมง
*เทคโนโลยีน้ำมันปลา
*เทคโนโลยีโปรตีนปลาเข้มข้น
*[[เชื้อเพลิงสาหร่าย]]
'''[[การจัดการประมง]]'''
*การจัดการทรัพยากรประมง
*การจัดการทรัพยากรและการท่องเที่ยวทางทะเล
*การวิจัยและการนำเสนอข้อมูลด้านวิทยาศาตร์การประมงด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์
*[[วิศวกรรมต่อเรือ]]
*[[วิศวกรรมประมง]]
*[[วิศวกรรมสมุทรศาสตร์]]
*[[วิศวกรรมชายฝั่ง]]
*วาริชวิศวกรรม
*[[การเดินเรือ]]
*[[การต้นหน]]
{{ล่าง}}
 
</div>
 
== ดูเพิ่ม ==
* [[วันประมงแห่งชาติ]]
* [[รายชื่อคณะประมงในประเทศไทย]]
 
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
 
 
 
{{เทคโนโลยี}}
{{คณะประมงในประเทศไทย}}
 
[[หมวดหมู่:การประมง]]
[[หมวดหมู่:เทคโนโลยี]]
[[หมวดหมู่:คณะประมงในประเทศไทย| ]]
[[หมวดหมู่:ประมงศาสตร์]]
[[หมวดหมู่:สมุทรศาสตร์]]
 
== ดูเพิ่ม ==
* [[วันประมงแห่งชาติ]]
* [[ผลิตภัณฑ์ประมง]]
 
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
 
[[หมวดหมู่:การประมง]]
 
 
 
{{เทคโนโลยี}}
[[หมวดหมู่:เทคโนโลยี]]
 
[[en:Fishery]]
[[da:Fiskeri]]
[[de:Fischerei]]
[[et:Kalandus]]
[[el:Αλιευτικό πεδίο]]
[[en:Fishery]]
[[es:Caladero]]
[[et:Kalandus]]
[[fa:شیلات]]
[[fi:Kalastus]]
[[fr:Pêcherie]]
[[hr:Ribarstvo]]
[[id:Perikanan]]
[[is:Sjávarútvegur]]
[[nl:Visserij]]
[[ja:漁業]]
[[nah:Michmāliztli]]
[[no:Fiskeri]]
[[nds:Fischeree]]
[[nl:Visserij]]
[[no:Fiskeri]]
[[pl:Rybołówstwo]]
[[pt:Pesca]]
เส้น 182 ⟶ 64:
[[se:Guolásteapmi]]
[[sk:Rybárstvo]]
[[fi:Kalastus]]
[[tr:Balıkçılık]]
 
[[uk:Рибне господарство]]
[[uk:Рибальство]]
[[zh:漁業]]
[[zh-yue:漁業]]
[[zh:漁業]]