ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การประมวลผลแบบกลุ่มเมฆ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Ripchip Bot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.7.1) (โรบอต เพิ่ม: sk:Cloud computing
Baritoreca (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
[[ไฟล์:Cloud computing.svg|thumb|[[แผนผัง]]ของการประมวลผลแบบกลุ่มเมฆ]]
'''การประมวลผลแบบกลุ่มเมฆ''' ({{lang-en|cloud computing}}) เป็นลักษณะของการทำงานของผู้ใช้งาน[[คอมพิวเตอร์]]ผ่าน[[อินเทอร์เน็ต]] ที่ให้บริการใดบริการหนึ่งกับผู้ใช้ โดยผู้ให้บริการจะแบ่งปัน[[ทรัพยากร]]ให้กับผู้ต้องการใช้งานนั้น การประมวลผลแบบกลุ่มเมฆ เป็นลักษณะที่พัฒนาขึ้นต่อมาจากความคิดและบริการของ [[เวอร์ชัวไลเซชัน]] และ[[เว็บเซอร์วิส]] โดยผู้ใช้งานนั้นไม่จำเป็นต้องมีความรู้ในเชิงเทคนิคสำหรับตัวพื้นฐานการทำงานนั้น<ref>{{Cite web|last=Danielson |first=Krissi |url=http://www.ebizq.net/blogs/saasweek/2008/03/distinguishing_cloud_computing/ |title=Distinguishing Cloud Computing from Utility Computing |publisher=Ebizq.net |date=2008-03-26 |accessdate=2010-08-22}}</ref>
 
[[สถาบันมาตรฐานและเทคโนโลยีแห่งชาติ]] (NIST) ได้ให้คำจำกัดความไว้ว่า<ref>{{Cite web|url=http://csrc.nist.gov/groups/SNS/cloud-computing/ |title=NIST.gov - Computer Security Division - Computer Security Resource Center |publisher=Csrc.nist.gov |date= |accessdate=2010-08-22}}</ref> คำว่า cloud ใช้ในความหมายของ[[อุปลักษณ์]]จากคำในภาษาอังกฤษที่แปลว่า [[เมฆ]] กล่าวถึงอินเทอร์เน็ตโดยรวม<ref>{{Cite web|url=http://www.sellsbrothers.com/writing/intro2tapi/default.aspx?content=pstn.htm |title=Writing & Speaking |publisher=Sellsbrothers.com |date= |accessdate=2010-08-22}}</ref> ในรูปของ[[โครงสร้างพื้นฐาน]] (เหมือนระบบไฟฟ้า ประปา) ที่พร้อมให้บริการกับผู้ใช้งานเมื่อมีความต้องการใช้<ref>{{Cite web|url=http://www.thestandard.com/article/0,1902,5466,00.html |title=The Internet Cloud |publisher=Thestandard.com |date= |accessdate=2010-08-22}}</ref> ผู้ให้บริการการประมวลผลแบบกลุ่มเมฆส่วนใหญ่จะให้บริการในลักษณะของ[[เว็บแอปพลิเคชัน]]โดยให้ผู้ใช้ทำงานผ่าน[[เว็บเบราว์เซอร์]] ขณะเดียวกันซอฟต์แวร์และข้อมูลทั้งหมดจะถูกเก็บไว้บนเซิร์ฟเวอร์ของผู้ให้บริการ
 
การประมวลผลแบบกลุ่มเมฆนั้นถูกอธิบายถึง[[โมเดล]]รูปแบบใหม่ของ[[เทคโนโลยีสารสนเทศ]]ในการใช้งานบน[[อินเทอร์เน็ต]]ที่เน้น[[การขยายตัว]] และจัดสรรทรัพยากร<ref name="gartner">{{Cite web|url=http://www.gartner.com/it/page.jsp?id=707508 |title=Gartner Says Cloud Computing Will Be As Influential As E-business |publisher=Gartner.com |date= |accessdate=2010-08-22}}</ref><ref name="really">{{Cite web|url=http://www.infoworld.com/d/cloud-computing/what-cloud-computing-really-means-031|title=What cloud computing really means|last=Gruman|first=Galen|date=2008-04-07|work=[[InfoWorld]]|accessdate=2009-06-02}}</ref> โดยเน้นการทำงานระยะไกลอย่างง่ายที่ใช้อินเทอร์เน็ตเป็นโครงสร้างพื้นฐาน<ref>{{Cite news|url=http://www.economist.com/displaystory.cfm?story_id=14637206|title=Cloud Computing: Clash of the clouds|date=2009-10-15|publisher=The Economist|accessdate=2009-11-03}}</ref>
 
ตัวอย่างของการประมวลผลแบบกลุ่มเมฆที่เป็นที่รู้จักเช่น [[ยูทูบ]] (ผู้ใช้สามารถเก็บวิดีโอออนไลน์ได้ โดยไม่จำเป็นต้องมีความรู้ในการสร้างระบบวิดีโอออนไลน์)
 
==การบริการบนระบบ ==
การบริการบนระบบการประมวลผลแบบกลุ่มเมฆสามารถ แบ่งออกได้ 3 รูปแบบ ดังนี้
* '''การให้บริการซอฟต์แวร์''' หรือ '''Software as a Service''' (SaaS)
จะให้บริการการประมวลผลแอปพลิเคชั่นที่แม่ข่ายของผู้ให้บริการ และเปิดให้การบริการทางด้านซอฟแวร์ต่างๆ
* '''การให้บริการแพลทฟอร์ม''' หรือ '''Platform as a Service''' (PaaS)
เป็นการประมวลผล ซึ่งมีระบบปฎิบัติการ และการสนับสนุนแอปพลิเคชั่นเข้ามาร่วมด้วย
* '''การให้บริการโครงสร้างพื้นฐาน''' หรือ '''Infrastructure as a Service''' (IaaS)
เป็นการให้บริการเฉพาะโครงสร้างพื้นฐาน มีประโยชน์ในการประมวลผลทรัพยากรจำนวนมาก
 
== การประมวลผลแบบกลุ่มเมฆ กับ เครือข่ายเชื่อมโยงการกระจายทรัพยากร ==
ข้อแตกต่างระหว่าง '''การประมวลผลแบบกลุ่มเมฆ (Cloud Computing)''' และ [['''เครือข่ายเชื่อมโยงการกระจายทรัพยากร''']] '''(Grid Computing)'''
กล่าวคือ การประมวผลแบบกริด จะเป็นการแบ่งบันทรัพยากรร่วมกันระหว่างบุคคลและองค์กร โดยจะถูกกำหนดและควบคุมภายใต้กฎขององค์กรที่เรียกว่า องค์กรเสมือน (Virtual organization) โดยทั้งสองอย่างจเหมือนกันมาก ในแง่ที่เป็นการทำงานร่วมกันของคอมพิวเตอร์หลายตัว จนเป็นเครือข่ายคอมพิวเตอร์ โดยการประมวลผลแบบกลุ่มเมฆ จะเน้นผู้ใช้เป็นหลัก ส่วนเครือข่ายเชื่อมโยงการกระจายทรัพยากร จะเน้นไปที่ระบบมากกว่า
 
== อ้างอิง ==