ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อำเภอลับแล"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Khelang (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Octahedron80 (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาด
บรรทัด 10:
| postal_code = 53130
| geocode = 5308
| คำขวัญ = งามพระแท่นศิลาอาสน์ ถิ่นลางสาดรสดี เมืองพระศรีพนมมาศ แหล่งไม้กวาดตองกง ดงหอมแดงลือชื่อ งามระบือน้ำตกแม่พูล
}}
'''อำเภอลับแล''' หรือ '''เมืองลับแล''' เป็น[[อำเภอ]]หนึ่งใน[[จังหวัดอุตรดิตถ์]] '''เป็นเมือง[[ล้านนา]]'''โบราณมีมาตั้งแต่สมัยก่อน[[กรุงสุโขทัย]] [[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] ได้เคยเสด็จมาเมื่อ ปี [[พ.ศ. 2444]] ความเป็นมาของคำว่า “ลับแล” นั้น ตามข้อสันนิษฐานของ[[สมเด็จกรมพระยาดำรงราชานุภาพ]]<ref>[http://www.geocities.com/lablae_city/history6.htm ฟู บุญถึง และคณะ . ( ม.ป.ป.) . ลับแลหรือจะแลลับ , สำนักงานการประถมศึกษาอำเภอลับแล]</ref>ว่า เดิมชาวเมือง[[แพร่]] เมือง[[น่าน]] หนีข้าศึกและความเดือดร้อนมาซุ่มซ่อนตั้งชุมชนอยู่บริเวณนี้ เนื่องจากเป็นที่ป่ารก หลบซ่อนตัวง่ายและ ภูมิประเทศเป็นเมืองอยู่ใน[[หุบเขา]]มีที่เนินสลับกับที่ต่ำ คนต่างเมืองถ้าไม่คุ้นเคยกับภูมิประเทศจะหลงทางได้ง่าย อำเภอลับแลนอกจากจะมี[[โบราณสถานแบบล้านนาโบราณ]]ที่น่าสนใจมากมายแล้ว ยังเป็นแหล่งผลิตสินค้า[[หัตถกรรมพื้นเมืองล้านนา]] เช่น [[ผ้าตีนจก]]และ[[ไม้กวาด]] เป็นแหล่งปลูก[[ลางสาด]] ซึ่งเป็นผลไม้ที่มีชื่อเสียงของจังหวัด
 
== ประวัติเมืองลับแล ==
บรรทัด 22:
[[ไฟล์:ชาวลับแล.jpg|200px|thumb|การแต่งกายของชาวลับแลใน[[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว|สมัยรัชกาลที่ 5]] จากหลักฐานทางประวัติศาสตร์ทำให้ทราบว่ากลุ่มชนแรกที่มาอยู่ในบริเวณเมืองลับแลในปัจจุบันนั้นอพยพมาจาก[[โยนกนาคพันธุ์|อาณาจักรเชียงแสนโบราณ (โยนกนาคพันธุ์)]]]]
 
ทางด้านเหนือของเมืองกัมโภช มีภูมิประเทศเป็นป่าเขาสลับซับซ้อน มีบรรยากาศเยือกเย็นยามพลบค่ำแม้ตะวันจะยังไม่ตกดินก็จะมืดแล้ว เพราะมีดอยม่อนฤๅษีเป็นฉากกั้นแสงอาทิตย์ ป่านี้จึงได้ชื่อว่า "ป่าลับแลง" (''แลง'' เป็น'''[[ภาษาล้านนา]]'''แปลว่า เวลาเย็น) ต่อมาเพี้ยนเป็น '''"ลับแล"''' ซึ่งกลายมาเป็นชื่ออำเภอลับแลในสมัยปัจจุบัน
 
ในยุคเดียวกับการรวมตัวของเมืองกัมโภช ได้มีผู้คนจาก'''[[อาณาจักรโยนกเชียงแสน]]''' อพยพหลบภัยสงครามเข้ามาตั้งรกรากอยู่บริเวณที่ราบเขาแห่งหนี่งและตั้งชื่อว่า ''บ้านเชียงแสน'' ต่อมาคนกลุ่มนั้นก็แยกย้ายกันไปหักล้างถางดงสร้างบ้านเมือง ขึ้นกระจัดกระจายตามที่ราบและไหล่เขาต่าง ๆ เมื่อได้ทำมาหากินกันระยะหนึ่ง คนกลุ่มนั้นได้ไปอัญเชิญ '''[[เจ้าฟ้าฮ่ามกุมาร]]''' พระราชโอรสของพระเจ้าเรืองชัยธิราช จากอาณาจักรโยนกนาคนครเชียงแสน มาตั้งเมืองที่ป่าลับแล ให้ชื่อว่าเมืองลับแล และสร้าง '''[[คุ้มเจ้าหลวง]]''' หรือ '''[[หอคำ]]''' ขึ้นที่บ้านท้องลับแล (บริเวณ[[วัดเจดีย์คีรีวิหาร]]) เมื่ออาณาจักรโยนกเชียงแสนล่มสลายลง '''[[อาณาจักรล้านนา]]'''เฟื่องฟูแทน เมืองลับแลก็ยอมขึ้นกับอาณาจักรล้านนา ใน [[พ.ศ. 1690]] [[อาณาจักรสุโขทัย]]รุ่งเรืองขึ้น ก็เป็นเมืองขึ้นของอาณาจักรสุโขทัย ในปี [[พ.ศ. 1981]] [[เมืองทุ่งยั้ง]] ได้เจริญรุ่งเรืองขึ้น เพราะเป็นเมืองหน้าด่านของ[[อาณาจักรอยุธยา]] เมืองลับแลจึงได้ถูกผนวกเข้าเป็นส่วนหนึ่งของเมืองทุ่งยั้ง ครั้นต่อมาใน[[สมัยรัตนโกสินทร์]] ในราว [[พ.ศ. 2444]] [[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] เสด็จประพาสเมือง[[อุตรดิตถ์]] และได้เสด็จมาถึงเมืองลับแลในวันที่ [[24 ตุลาคม]] [[พ.ศ. 2444]] ได้โปรดเกล้าฯ ให้ย้ายศาลากลางจังหวัดจากเมืองพิชัยมาตั้งที่บางโพ และยุบเมืองทุ่งยั้งรวมกับลับแลและสถาปนาเมืองลับแลขึ้นเป็นอำเภอ ส่วนอาคารที่ทำการยังตั้งอยู่ที่เมืองทุ่งยั้ง บริเวณใกล้เวียงเจ้าเงาะ
 
[[ไฟล์:อนุสาวรีย์พระศรีพนมมาศ 4.jpg|150px|left|thumb|อนุสาวรีย์[[พระศรีพนมมาศ]] คนดีเมืองลับแล บริเวณตัวเมืองลับแล]]
 
ต่อมาพระพิศาลคีรี ได้ย้ายอาคารที่ทำการไปตั้งที่ม่อนจำศีลในปีเดียวกันนี้ (ห่างจากที่ว่าการ อำเภอปัจจุบันไปทางทิศเหนือประมาณ 1 กิโลเมตร) ครั้นถึง [[พ.ศ. 2457]] สมัย [[พระศรีพนมมาศ]] (เมื่อครั้งเป็นหลวงศรีพนมมาศ) เห็นว่าห่างไกลจากตัวเมืองลำบากแก่ราษฎรไปติดต่อ ประกอบกับพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงมีพระราชประสงค์จะสงวนที่ ''ม่อนจำศีล'' เป็นที่ประดิษฐานพระเหลือ ([[พระพุทธรูป]]ที่สร้างจากทองที่เหลือจากการหล่อ[[พระพุทธชินราช]]ที่[[จังหวัดพิษณุโลก]]) เพราะทรงเห็นว่าทิวทัศน์ของม่อนจำศีลคล้ายกับเมือง[[ชวา]]<ref>[http://www.thai-folksy.com/l2qua/l1-30/15-L2Q.htm รศ.ดร.ประจักษ์ สายแสง, ดร.ทิวารักษ์ เสรีภาพ.วรรณกรรมสองแคว ตอนที่ 15 เรื่อง ภูมินามวิทยา 5 : ลับแล]</ref> จึงได้ย้ายอาคารที่ทำการจากม่อนจำศีล มาอยู่ที่ ''ม่อนสยามินทร์'' (ชาวบ้านเรียกม่อนสามินทร์) เพราะเคยเป็นที่ตั้งพลับพลารับเสด็จพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ซึ่งเป็นที่ตั้งที่ว่าการอำเภอในปัจจุบัน<ref>[http://www.thaiutt.th.gs/web-t/haiutt/data2.htm ข้อมูลอำเภอในจังหวัดอุตรดิตถ์.สำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดอุตรดิตถ์]</ref>
 
== ศิลปะ วัฒนธรรม ==
ชาวเมืองลับแลเป็น'''[[ชาวไทยวน]]'''เดิมที่อพยพลงมาจาก'''[[อาณาจักรโยนกนาคนครเชียงแสน]]'''เมื่อ 1000 กว่าปีที่แล้ว ดังนั้นชาวลับแลจึงมีขนบธรรมเนียมประเพณีและวัฒนธรรมเป็นแบบ'''[[ล้านนา]]'''ดั้งเดิม มีภาษาพูด ภาษาเขียน การแต่งกาย อาหารการกิน เป็นแบบล้านนาดั้งเดิม และสำเนียงการพูดจะเป็นสำเนียงเชียงแสนโบราณ ที่มีใช้อยู่ในแถวล้านนาตะวันออก เช่น แพร่ น่าน เชียงราย พะเยา อุตรดิตถ์ และบางส่วนของสุโขทัย เป็นต้น
 
== บุคคลสำคัญ ==
 
# '''[[เจ้าฟ้าฮ่ามกุมาร]]''' กษัติรย์พระองค์แรกของนครลับแล เป็นพระราชโอรสของพระเจ้าเรืองธิราช กษัตริย์แห่งอาณาจักรโยนกนาคครเชียงแสน เจ้าฟ้าฮ่ามกุมาร ทรงมีพระชายา 2 องค์ คือ พระเทวีเจ้าสุมาลี และพระเทวีเจ้าสุมาลา
# '''พระศรีพนมมาศ''' คนดีศรีนครลับแล
 
== ตำนานเมืองลับแล ==
บรรทัด 44:
[[ไฟล์:ประติมากรรมแม่ม่ายเมืองลับแล 1.jpg|150px|thumb|ประติมากรรมแม่ม่ายเมืองลับแล บริเวณประตูเมืองลับแล (ใหม่) แสดงถึงตำนานเล่าขานของเมืองลับแลอันเป็นที่เลื่องลือมาช้านาน]]
 
ตำนานนี้เล่ากันสืบมาว่า ครั้งหนึ่งมีชายคนหนึ่ง (น่าจะเป็นคนเมืองทุ่งยั้ง) เข้าไปในป่า ได้เห็นหญิงสาวสวยหลายคนเดินออกมา ครั้นมาถึงชายป่า นางเหล่านั้นก็เอาใบไม้ที่ถือมาไปซ่อนไว้ในที่ต่างๆ แล้วก็เข้าไปในเมือง ด้วยความสงสัยชายหนุ่มจึงแอบหยิบใบไม้มาเก็บไว้ใบหนึ่ง ตกบ่ายหญิงสาวเหล่านั้นกลับมา ต่างก็หาใบไม้ที่ตนซ่อนไว้ ครั้นได้แล้วก็ถือใบไม้นั้นเดินหายลับไป มีหญิงสาวคนหนึ่งหาใบไม้ไม่พบ เพราะชายหนุ่มแอบหยิบมา นางวิตกเดือดร้อนมาก ชายหนุ่มจึงปรากฏตัวให้เห็นและคืนใบไม้ให้ โดยมีข้อแลกเปลี่ยนคือ ขอติดตามนางไปด้วยเพราะปรารถนาจะได้เห็นเมืองลับแล หญิงสาวก็ยินยอม นางจึงพาชายหนุ่มเข้าไปยังเมืองซึ่งชายหนุ่มสังเกตเห็นว่าทั้งเมืองมีแต่ผู้หญิง นางอธิบายว่าคนในหมู่บ้านล้วนมีศีลธรรม ถือวาจาสัตย์ ใครประพฤติผิดก็ต้องออกจากหมู่บ้านไป ผู้ชายส่วนมากมักไม่รักษาวาจาสัตย์จึงต้องออกจากหมู่บ้านกันไปหมด แล้วนางก็พาชายหนุ่มไปพบมารดาของนาง ชายหนุ่มเกิดความรักใคร่ในตัวนางจึงขออาศัยอยู่ด้วย มารดาของหญิงสาวก็ยินยอม แต่ให้ชายหนุ่มสัญญาว่าจะต้องอยู่ในศีลธรรม ไม่พูดเท็จ ชายหนุ่มได้แต่งงานกับหญิงสาวชาวลับแลจนมีบุตรชายด้วยกัน 1 คน
 
[[ไฟล์:Laplae 01.JPG|200px|left|thumb|ประตูสัญลักษณ์อำเภอลับแล หลังจากผ่าน[[ เหตุการณ์น้ำท่วมดินถล่มในจังหวัดอุตรดิตถ์ พ.ศ. 2549|เหตุการณ์โคลนถล่มเมื่อวันที่ 23 พฤษภาคม พ.ศ. 2549]]]]
บรรทัด 72:
 
ท้องที่อำเภอลับแลประกอบด้วยองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 10 แห่ง ได้แก่
* '''เทศบาลตำบลศรีพนมมาศ''' ครอบคลุมพื้นที่ตำบลศรีพนมมาศทั้งตำบล
* '''เทศบาลตำบลทุ่งยั้ง''' ครอบคลุมพื้นที่บางส่วนของตำบลไผ่ล้อมและตำบลทุ่งยั้ง
* '''เทศบาลตำบลหัวดง''' ครอบคลุมพื้นที่บางส่วนของตำบลแม่พูล
* '''องค์การบริหารส่วนตำบลแม่พูล''' ครอบคลุมพื้นที่ตำบลแม่พูล (เฉพาะนอกเขตเทศบาลตำบลหัวดง)
* '''องค์การบริหารส่วนตำบลนานกกก''' ครอบคลุมพื้นที่ตำบลนานกกกทั้งตำบล
* '''องค์การบริหารส่วนตำบลฝายหลวง''' ครอบคลุมพื้นที่ตำบลฝายหลวงทั้งตำบล
* '''องค์การบริหารส่วนตำบลชัยจุมพล''' ครอบคลุมพื้นที่ตำบลชัยจุมพลทั้งตำบล
* '''องค์การบริหารส่วนตำบลไผ่ล้อม''' ครอบคลุมพื้นที่ตำบลไผ่ล้อม (เฉพาะนอกเขตเทศบาลตำบลทุ่งยั้ง)
* '''องค์การบริหารส่วนตำบลทุ่งยั้ง''' ครอบคลุมพื้นที่ตำบลทุ่งยั้ง (เฉพาะนอกเขตเทศบาลตำบลทุ่งยั้ง)
* '''องค์การบริหารส่วนตำบลด่านแม่คำมัน''' ครอบคลุมพื้นที่ตำบลด่านแม่คำมันทั้งตำบล
 
== สภาพทางภูมิศาสตร์ ==
== ภูมิประเทศ ==
 
สภาพพื้นที่ มีลักษณะพื้นที่[[ราบลุ่ม]]ทางตอนใต้ ค่อนสูงขึ้นทางตอนกลางและเป็น[[ภูเขา]]ทางตอนเหนือและทางตะวันตก มีพื้นที่[[ราบ]]ประมาณ 117 ตารางกิโลเมตร มีพื้นที่ภูเขาประมาณ 306 ตารางกิโลเมตร ไม่มีลำน้ำสายใหญ่ไหลผ่าน แต่มีลำน้ำที่เกิดจากเทือกเขาน้อยใหญ่ทางตอนเหนือ เช่น คลองแม่พร่อง หนองพระแล หนองนาเกลือ บึงมาย คลองพระเสด็จ
 
'''ภูเขา''' มีพื้นที่ภูเขาประมาณ 306 ตารางกิโลเมตร
 
'''แม่น้ำ''' ไม่มีลำน้ำสายใหญ่ไหลผ่าน แต่มีลำน้ำที่เกิดจากเทือกเขาน้อยใหญ่ทางตอนเหนือ เช่น คลองแม่พร่อง หนองพระแล หนองนาเกลือ บึงมาย คลองพระเสด็จ
 
=== ภูมิอากาศ ===
ลักษณะทางภูมิอากาศเป็นแบบ[[มรสุม]] มี 3 ฤดู
 
'''* ฤดูฝน''' ร้อน เริ่มตั้งแต่ เดือน[[กรกฎาคมมีนาคม]] - เดือน[[ตุลาคมมิถุนายน]]
ลักษณะทางภูมิอากาศเป็นแบบ[[มรสุม]] มี 3 ฤดู
'''* ฤดูหนาว''' ฝน เริ่มตั้งแต่ เดือน[[พฤศจิกายนกรกฎาคม]] - เดือน[[กุมภาพันธ์ตุลาคม]]
 
'''* ฤดูร้อน''' หนาว เริ่มตั้งแต่ เดือน[[มีนาคมพฤศจิกายน]] - เดือน[[มิถุนายนกุมภาพันธ์]]
 
'''ฤดูฝน''' เริ่มตั้งแต่ เดือน[[กรกฎาคม]] - เดือน[[ตุลาคม]]
 
'''ฤดูหนาว''' เริ่มตั้งแต่ เดือน[[พฤศจิกายน]] - เดือน[[กุมภาพันธ์]]
 
== การเดินทาง ==
'''อำเภอลับแล''' อยู่ห่างจากตัวเมือง[[อุตรดิตถ์]] 9 [[กิโลเมตร]] ไปตาม[[ทางหลวงหมายเลข 102]] ประมาณ 3 กิโลเมตร แล้วเลี้ยวขวาไปตามทางหลวงหมายเลข 1041 อีก 6 กิโลเมตร
 
== อ้างอิง ==
เส้น 109 ⟶ 101:
 
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
* [http://www.uttaradit.go.th/tour/laplae/lap.html '''แหล่งท่องเที่ยวในอำเภอลับแล''' จากเว็บไซด์จังหวัดอุตรดิตถ์]
 
{{Commons|Category:Amphoe Laplae}}
 
 
{{อำเภอจังหวัดอุตรดิตถ์}}