ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ลูกครึ่ง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Danusorn (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Danusorn (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 3:
ในสมัย[[สงครามโลกครั้งที่สอง]] ทหารสัมพันธมิตรที่เข้ามาปลดอาวุธทหารญี่ปุ่น เมื่อจบสงครามก็มีลูกหลานทิ้งไว้ที่เมืองไทย เช่นเดียวกับโครงการ R&R ของทหารอเมริกันใน[[สงครามเวียดนาม]] ที่ผู้คน (ในกรุงเทพฯ) มักจะเหยียดและสงสัยว่าแม่น่าจะเป็น[[โสเภณี]] (ซึ่งไม่จริงเสมอไป) <ref name="นิธิ"/>
 
ในยุคใหม่ ลูกครึ่งโดยมากเกิดจาก พ่อหรือแม่ (ส่วนมากเป็นพ่อ) ชาวตะวันตกที่เข้ามาอยู่อาศัยหรือทำงานในประเทศไทย หรือเมื่อพวกเขาไปศึกษาต่อในต่างประเทศ คนรุ่นหลังนี้เป็นที่นิยมมากขึ้นในสังคม จนลูกครึ่งกลับมาเป็นที่นิยม เพราะอุตสาหกรรมบันเทิง<ref name="นิธิ"/> ที่พวกเขาสามารถพูดภาษาอังกฤษได้อย่างคล่องแคล่ว กับหน้าตาที่มีส่วนผสมแบบตะวันตก เช่นสีผิวอ่อน/ขาว ตาใหญ่และมีสีแตกต่าง รูปร่างสูง ที่เป็นที่สนใจสำหรับสังคมไทย โดยเฉพาะในสังคมวัยรุ่นที่เป็นที่นิยม ศิลปินลูกครึ่ง ที่โด่งดังเช่น [[ทาทา ยัง]], [[คัทลียา แมคอินทอช]], [[ศรีริตา เจนเซ่น]], [[พอลล่า เทเลอร์]], [[มาริโอ้ เมาเร่อ]], [[อเล็กซ์ เรนเดลล์]], [[ปรกณ์ปกรณ์ ลัม]] เป็นต้น
 
== อ้างอิง ==