ผลต่างระหว่างรุ่นของ "มาตราริกเตอร์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 15:
ภายหลังเมื่อเครื่องวัดความไหวสะเทือนมีความละเอียดมากขึ้น สามารถวัดขนาดของแผ่นดินไหวได้ละเอียด ทั้งในระดับที่ต่ำกว่า 0 (สำหรับค่าที่ได้น้อยกว่า 0 ถือเป็นค่าติดลบ) และที่สูงกว่า 9
 
== ตารางมาตราริกเตอร์แมกนิจูด ==
ริกเตอร์แมกนิจูดของแผ่นดินไหวสามารถหาค่าได้จาก[[ลอการิทึม]]ของแอมพลิจูดของคลื่นที่สามารถตรวจวัดได้โดยเครื่องวัดแผ่นดินไหว (ต่อมามีการแก้ไขรูปแบบการคำนวณ เพื่อชดชเยระยะห่างระหว่างเครื่องวัดแผ่นดินไหวจำนวนมากและศูนย์กลางแผ่นดินไหว) สูตรดั้งเดิมเป็นดังนี้<ref>{{cite journal
| publisher=USGS
| last=Ellsworth
| first=William L.
| author=Ellsworth, William L.
| url=http://www.johnmartin.com/earthquakes/eqsafs/safs_693.htm
| title=The Richter Scale M<sub>L</sub>, from The San Andreas Fault System, California (Professional Paper 1515)
| pages=c6, p177
| year=1991
| accessdate=2008-09-14
}} {{Dead link|date=October 2010|bot=H3llBot}}
</ref>
 
:<math>M_\mathrm{L} = \log_{10} A - \log_{10} A_\mathrm{0}(\delta),\ </math>
 
โดยที่ A เป็นการเบี่ยงเบนที่มีค่ามากที่สุดของเครื่องวัดแผ่นดินไหววูด-แอนเดอร์สัน ในเชิงประจักษ์แล้ว การทำงานของ A<sub>0</sub> ขึ้นอยู่กับระยะทางจากจุดเหนือศูนย์เกิดแผ่นดินไหวของสถานี (δ) ในทางปฏิบัติแล้ว การอ่านค่าจากสถานีสังเกตการณ์ทั้งหมดจะถูกนำมาเฉลี่ยหลังจากมีการปรับแก้โดยเฉพาะของแต่ละสถานีเพื่อให้ได้มาซึ่งค่ามาตราริกเตอร์
 
เนื่องจากพื้นฐานลอการิทึมของมาตราริกเตอร์ การเพิ่มขึ้นของตัวเลข 1 หน่วยหมายความว่า แอมพลิจูดที่สามารถวัดได้มีค่าเพิ่มขึ้นจากเดิม 10 เท่า ในแง่ของพลังงาน การที่แมกนิจูดเพิ่มขึ้น 1 หน่วย หมายความว่า มีพลังงานปลดปล่อยออกมามาขึ้น 31.6 เท่า และการเพิ่มขึ้น 0.2 แมกนิจูด หมายความว่าพลังงานจะปลดปล่อยออกมามากกว่าเดิมถึง 2 เท่า
 
<center>'''ตารางแสดงมาตราริกเตอร์และผลกระทบ โดยสำนักงานสำรวจธรณีวิทยาสหรัฐอเมริกา'''<ref>[http://earthquake.usgs.gov/learning/faq.php?categoryID=2 USGS: FAQ- Measuring Earthquakes]</ref></center>
{|class=wikitable
|-
เส้น 23 ⟶ 43:
!'''อัตราการเกิดทั่วโลก'''
|-
| 1.9 ลงไป || ไม่รู้สึก (Micro) || ไม่มี ไม่สามารถรู้สึกได้ || 8,000 ครั้ง/วัน
|-
| 2.0-2.9 || เบามาก (Minor) || คนทั่วไปมักไม่รู้สึก แต่ก็สามารถรู้สึกได้บ้าง และตรวจจับได้ง่าย || 1,000 ครั้ง/วัน
เส้น 41 ⟶ 61:
| 9.0-9.9 || รุนแรงมาก (Great) || 'ล้างผลาญ' ทุกสิ่งทุกอย่างในรัศมีเป็นพันกิโลเมตร || 1 ครั้ง/20 ปี
|-
| 10.0 ขึ้นไป || ทำลายล้าง (Epic) || ไม่เคยเกิด จึงไม่มีบันทึกความเสียหายไว้ || 0หายากมาก (ไม่ทราบจำนวนครั้งที่เกิด)
|-
|}
 
แผ่นดินไหวครั้งรุนแรงที่สุดที่เคยเกิดขึ้น คือ แผ่นดินไหวในวัลดิเวีย ค.ศ. 1960 ซึ่งสามารถวัดความรุนแรงได้ 9.5 ริกเตอร์<ref>[http://earthquake.usgs.gov/regional/world/10_largest_world.php USGS: List of World's Largest Earthquakes]</ref>
 
== อ้างอิง ==
150,563

การแก้ไข