ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ดวงอาทิตย์เที่ยงคืน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Watanyu (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Watanyu (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 3:
 
= พระอาทิตย์เที่ยงคืน =
ดวงอาทิตย์เที่ยงคืน คือ [[ปรากฏการณ์ธรรมชาติ]] ที่เกิดขึ้นในฤดูร้อนของ[[ทวีปยุโรป]]และในบริเวณใกล้เคียงในบริเวณเส้น[[อาร์ทติกเซอเคิล]]และใต้และบริเวณใกล้เคียงไปทางทิศเหนือ ของ [[Antarctic Circle]] ที่[[ดวงอาทิตย์]]ยังคงมองเห็นในเวลาเที่ยงคืน โดยมีโอกาสตามสภาพอากาศ ดวงอาทิตย์จะมองเห็นได้สำหรับอย่างต่อเนื่องตลอด 24 ชั่วโมงส่วนใหญ่ทางตอนเหนือของอาร์กติกเซอร์เคิลและตอนใต้ของทวีปแอนตาร์กติกเซอร์เคิล ดวงอาทิตย์เที่ยงคืนที่อาจเกิดขึ้นในจำนวนวันที่ไม่แน่นอน
คือปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นในแทบภูมิภาค[[ยุโรปตอนเหนือ]]สามารถเห็นได้ชัดที่ประเทศ[[นอร์เวย์]] บริเวณแหลมเหนือ หรือที่รู้จักกันในนาม [[แหลมเหนือ|นอร์ธเคป]] เพราะแม้ในยามเที่ยงคืนล่วงไปแล้วแต่ดวงอาทิตย์กลับยังส่องแสงสว่างอยู่ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับสภาพภูมิอากาศเป็นหลัก
ไม่มีการตั้งถิ่นฐานของมนุษย์ถาวรทางตอนใต้ของ[[ทวีปแอนตาร์กติกเซอเคิล|ขั้วโลกเหนือ]] ดังนั้นประเทศและดินแดนที่สามารถมองเห็นดวงอาทิตย์เที่ยงคืนได้จะจำกัดให้คนข้ามเส้น [[Arctic Circle]]เช่น [[แคนาดา]] ([[Yukon]],[[นูนาวุต ]]), [[สหรัฐอเมริกา]] ([[อลาสก้า]]), [[เดนมาร์ค]] ([[กรีนแลนด์]]),[[นอร์เวย์]],[[สวีเดน]],[[ฟินแลนด์]],[[รัสเซีย]],[[ไอซ์แลนด์]] โดยดินแดนของ [[ฟินแลนด์]]ซึ่งตั้งอยู่ทางตอนเหนือของ[[Arctic Circle]]เป็นจุดที่ดวงอาทิตย์ไม่ได้ตกดินเป็นเวลายาวนานที่สุด (73 วัน)ในช่วงฤดู​​ร้อน ใน [[สฟาลบาร์]]
 
นอร์เวย์ได้ชื่อ "ดินแดนอาทิตย์เที่ยงคืน" หรือ The Midnight Sun มาจากปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้น เพราะโลกกลมและหมุนรอบแกนของตัวเอง พร้อมโคจรรอบดวงอาทิตย์ด้วย โดยจะเอียงแกนเอาขั้วโลกเหนือ-ใต้ สลับเข้าหาดวงอาทิตย์ชั่วระยะหนึ่งใช้เวลาเท่าๆ กันคือประมาณ 4-6 เดือน ระหว่างที่โลกหันเอาขั้วนั้นเข้าหาดวงอาทิตย์จะเป็นฤดูร้อน
เมื่อโลกเอียงเอาขั้วโลกเหนือเข้าหาดวงอาทิตย์ ขั้วโลกเหนือจะได้รับแสงสว่างและความร้อนเต็มที่ สว่างอยู่เป็นเวลา 24 ชั่วโมงติดต่อกันเป็นเวลานับเดือน จะเห็นอาทิตย์โคจรเป็นทางโค้งอยู่เหนือขอบฟ้า ขึ้นสูงพ้นยอดไม้ และค่อยลดต่ำลงจนเกือบจดขอบฟ้า แต่จะไม่ลับขอบฟ้าไปเสียเลยทีเดียว ก่อนกลับสูงขึ้นไปอีกในตอนเที่ยงคืน ทำให้มีแสงสว่างสาดเป็นทาง ต้นไม้มีเงายาวทอดออกไปตามพื้นดิน คล้ายอาทิตย์ในยามเช้าหรือยามเย็น
ขณะเดียวกัน ฝั่งตรงข้ามคือขั้วโลกใต้จะมืดมิด อากาศหนาวจัดตลอด 24 ชั่วโมงติดต่อนับเป็นเดือนเช่นกัน แต่เมื่อโลกเอียงเอาขั้วโลกใต้เข้าหาดวงอาทิตย์ ขั้วโลกใต้ก็จะสว่างเป็นเวลานาน และมีปรากฏการณ์เห็นดวงอาทิตย์ตอนเที่ยงคืนเช่นกัน (เพียงแต่ว่าซีกโลกนั้นไม่มีมนุษย์อยู่อาศัยยืนยัน มีเพียงเพนกวินจักรพรรดิเท่านั้นที่เตาะแตะชมวิว) ยามขั้วโลกเหนือตกอยู่ในความมืด อากาศหนาวจัดตลอด 24 ชั่วโมงติดต่อนับเป็นเดือน
ปรากฏการณ์ดวงอาทิตย์เที่ยงคืน ณ โลกเหนือ จะเกิดขึ้นในบริเวณที่อยู่เหนือเส้นอาร์ติกเซอร์เคิล หรือประมาณเส้นละติจูดที่ 66 องศาเหนือ ทำให้ผู้คนในประเทศที่อยู่เหนือเส้นละติจูดนี้มองเห็นดวงอาทิตย์ทั้งในเวลากลางวันและกลางคืน
==การชมพระอาทิตย์เที่ยงคืน==
===นอร์เวย์===