ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โกทูโนว์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Manop (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Manop (คุย | ส่วนร่วม)
ลบส่วนโฆษณาออก
บรรทัด 1:
{{โฆษณา}}
{{ชื่ออังกฤษ}}
'''Gotoknow.org''' เป็น[[บล็อก]] สำหรับแลกเปลี่ยนความรู้บน[[อินเทอร์เน็ต]] พัฒนาโดย ดร. จันทวรรณ น้อยวัน และ ดร.ธวัชชัย ปิยะวัฒน์ จากคณะวิทยาการจัดการ [[มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์]] เริ่มใช้เมื่อวันที่ [[27 พฤษภาคม]] [[พ.ศ. 2549]] ภายใต้การสนับสนุนหลักโดย[[สถาบันส่งเสริมการจัดการความรู้เพื่อสังคม]] (สคส.) ในเว็บไซต์จะมีการแบ่งย่อยออกเป็นตามกลุ่ม (หลายชุมชน) ตามเนื้อหาที่สนใจ เช่น ชุมชนเบาหวาน ชุมอาหารปลอดภัย ชุมชนการป้องกันโรค นอกจากนี้ ในแต่ละหน้าจะเชื่อมโยงกันตาม[[กลุ่มป้าย]]เพื่อง่ายต่อการค้นหาและเชื่อมโยงเนื้อหาที่ใกล้เคียงกันไว้ด้วยกัน
'''Gotoknow.org''' เป็น[[เว็บล็อก]] เครือข่ายแลกเปลี่ยนเรียนรู้บนเวทีเสมือน
 
== ผู้สนับสนุนโครงการ ==
== กำเนิด Gotoknow ==
* [[สถาบันส่งเสริมการจัดการความรู้เพื่อสังคม]] (สคส.)
Weblog Gotoknow.org ได้ถูกพัฒนาขึ้นภายใต้การสนับสนุนของ[[สถาบันส่งเสริมการจัดการความรู้เพื่อสังคม]] (สคส.) พัฒนาโปรแกรมโดย ดร. จันทวรรณ น้อยวัน และ ดร.ธวัชชัย ปิยะวัฒน์ จากคณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ Gotoknow ได้นำขึ้นใช้เมื่อวันที่ [[27 พฤษภาคม]] [[พ.ศ. 2549]] ในครั้งแรก ในขณะนั้น Gotoknow ต้องเช่า[[เครื่องแม่ข่าย]] ผ่านทางบริษัท servepath ซึ่งติดตั้งเครื่องที่[[ประเทศสหรัฐอเมริกา]] และในปัจจุบันอยู่ในระหว่างการย้ายกลับมายังประเทศไทย เนื่องมีผู้ใช้จำนวนมากทำให้ระบบล่าช้า
* [[สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย]]
* [[สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ]] (สสส.)
* [[มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์]]
* [[ไอเน็ต]]
 
== ดูเพิ่ม ==
== สคส. ทำอะไรบ้างกับ Gotoknow? ==
* [[คลังปัญญาไทย]] - แหล่งความรู้ภาษาไทยที่สนับสนุนโดย สสส.
เริ่มต้นจากวงเล็กๆ ภายในกลุ่มภาคีที่ สคส. คุ้นเคยและไปแนะนำกระบวนการ KM ผ่านรูปแบบ workshop ใน session ท้ายก็จะมีการสอนให้รู้จัก Gotoknow และขออาสาสมัครมาทดลองเปิดลงทะเบียนใช้จริง เพื่อเป็นการสาธิตให้ท่านอื่นได้ดูตามไปด้วย ทีมงาน สคส. จะประชาสัมพันธ์ทุกครั้งที่ได้รับเชิญไปเป็นวิทยากร หรือร่วมในการประชุม เสวนาในทุกเรื่อง
 
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
จากนั้นไม่นาน สคส. ได้เรียนรู้ว่า gotoknow นั้น เป็นเครื่องมือชั้นเยี่ยมเพื่อการแลกเปลี่ยนความรู้ปฏิบัติ ทั้งในสายงานเดียวกัน ข้ามสายงาน หรือแม้แต่ข้ามองค์กรก็สามารถทำได้ ผู้ใช้ หรือที่เราเรียกกันว่า blogger นั่นเอง เริ่มมีพัฒนาการในการประยุกต์ใช้ Gotoknow สคส. จึงเดินเครื่องเพื่อเสริมกำลังใจแก่ active blogger เหล่านั้น ให้หัวใจพองโตมากยิ่งขึ้น สคส. เริ่มใช้กลยุทธ์การให้รางวัลเพื่อกระตุ้นให้บรรยากาศคึกคักขึ้น เริ่มจากรางวัล “สุดคนึง” (Best Blog of the Month) และต่อมาเพิ่มรางวัล “จตุรพลัง” (คุณเอื้อ, คุณอำนวย, คุณกิจ, และคุณลิขิตดีเด่น)
* [http://gotoknow.org เว็บไซต์ gotoknow.org]
 
== ผลในระดับใหญ่และกว้าง ==
จากการให้รางวัล ซึ่งหากดูของรางวัล คงมีค่านับเป็นเงินได้น้อยมาก แต่คุณค่าทางใจสูง จึงส่งผลให้เกิดเกินความคาดหมายในหลายๆด้าน ประการแรกที่เห็น คือ ตัว active blogger เองพยายามรักษาผลงานให้อยู่ในระดับดี เป็นความรู้สึกภายในที่แต่ละคนสะท้อนให้เราฟัง ประการที่สอง ผู้บริหารและเพื่อนร่วมงานเริ่มเห็น “เพชร” ในองค์กรของตัวเอง ประการที่สาม เกิดความสัมพันธ์ข้ามสายงาน ข้ามสาขาอาชีพที่หลากหลาย blogger เหล่านี้เริ่มรู้จักกันบนเวทีเสมือนและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างกัน ผลัดกันชื่นชม ผลัดกันให้กำลังใจบ้าง ทั้งๆที่หลายคนไม่เคยรู้จักหน้าตากันมาก่อน จากนั้น สคส. จึงได้จัดเวทีจริงเพื่อให้คนเหล่านี้ได้มาเจอกันบนเวทีจริง อันจะช่วยกระชับมิตรภาพแห่งการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ระหว่างกันได้แน่นแฟ้นยิ่งขึ้น เช่น เวทีคุณอำนวย เวที 1 ปี Gotoknow เป็นต้น ประการที่สี่ โลกใบใหญ่ใบนี้ มันเริ่มจะไม่ใหญ่เสียแล้ว เพราะเราเห็นกิจกรรมที่ผุดขึ้นมาจากหลากหลายมุมของประเทศ ยิ่งทำให้เราเห็นพัฒนาการของ KM ประเทศไทยได้ง่ายยิ่งขึ้น โดยดูผ่านหน้าต่าง Gotoknow บานนี้นี่เอง
 
== ผลในระดับองค์กร ==
ภายในหน่วยงาน หรือองค์กรก็เช่นกัน สคส. เริ่มเห็นการประยุกต์ใช้ Gotoknow เพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของคนในองค์กร ที่เด่นมาก คือ ภายในมหาวิทยาลัยนเรศวร ซึ่งได้รับรางวัลBIO Award (Blog Intelligence Organization) เริ่มจาก ผศ.ดร. วิบูลย์ วัฒนาธร รองอธิการบดีฝ่ายวิจัยและพัฒนาคุณภาพ หลังจากที่ได้เห็นกระบวนการ KM ของ สคส. ในหลายเวทีและติดตามมาร่วมประชุมอีก 2-3 ครั้ง ผศ.ดร. วิบูลย์ จึงเริ่มเปิด blog ของตนเองขึ้นมา ชื่อว่า http://nurqakm.gotoknow.org จากนั้น ท่านก็ชักชวนทีมงานโดยเฉพาะผู้บริหารระดับคณะเข้ามาใช้ Gotoknow ในตอนแรกๆมี รศ.ดร. มาลินี ธนารุณ คณบดีคณะสหเวชศาสตร์, รศ.เทียมจันทร์ พานิชย์ผลินไชย รองคณบดีคณะศึกษาศาสตร์ และใช้ชุมชนคนเขียน blog ใน มน. Gotoknow.org/planet/nukm เป็นชุมชนใหญ่ และแตกย่อยไปอีกเป็นชุมชนเฉพาะสาขามากขึ้น นอกจากนี้ยังมีทีมหัวหอก อาทิ อาจารย์สมลักษณ์ วงศ์สมาโนดน์ http://beesman.gotoknow.org จากภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ ม.นเรศวร ที่รู้จักกันดีในนาม “beeman” ที่ประยุกต์ใช้กับการเรียน-การสอนนักศึกษา หรือ คุณอนุวัทย์ เรืองจันทร์ (บอย-สหเวช). ดร.รุจโรจน์ แก้วอุไร http://rujroadk.gotoknow.org ที่ผลักดันชุมชนห้องสมุด มน. และทีมงานคนอื่นๆอีกหลายท่านที่ไม่ได้เอ่ยนาม ทีมงานเหล่านี้นับว่าเป็นกลไกสำคัญที่ทำให้การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ผ่าน gotoknow นั้นขยายเป็นวงกว้างออกไป ซึ่งในที่นี้จะขอยกตัวอย่างกรณีการขยายชุมชนย่อยโดย คุณอนุวัทย์ เรืองจันทร์ ซึ่งได้เข้าไปมีบทบาทในฐานะ “คุณอำนวย” และจัดตั้ง “ชุมชนนักปฏิบัติ” (Community of Practice: CoP) โดยใช้ Gotoknow เป็นเครื่องมือหนึ่งที่ทำหน้าที่เป็นเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ให้กับคนทำงานในมหาวิทยาลัยได้เป็นอย่างดี มีชุมชนสำนักงานเลขานุการคณะ gotoknow.org/planet/non-teaching , ชุมชนคนพัสดุ gotoknow.org/planet/pasadu, ชุมชนสหเวช gotoknow.org/planet/kmash เป็นต้น
 
== ผลต่อด้านสุขภาพ==
แน่นอนครับ มี blogger หลายท่านที่มาจากสาขาอาชีพด้านการสาธารณสุข ดังนั้นเวทีนี้จึงมีบันทึกจำนวนไม่น้อยที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพโดยตรง อาทิ ชุมชนเบาหวาน , ชุมชน R2R, ไตรภาคีร่วมพัฒนาสุขภาพชุมชน, สุขภาพดีถ้วนหน้า, optimal health, บ้าน go2no, ข้อมูลทั่วไปด้านสุขภาพ และอีกหลายๆ blog เรื่องราวการทำงานส่งเสริมสุขภาพ การรักษาโรค สุขภาพชุมชน อาหารปลอดภัย การป้องกันโรค เหล่านี้ถูกเขียนผ่านบันทึกใน gotoknow และในปัจจุบันท่านสามารถรวบรวมบันทึกที่เกี่ยวกับด้านสุขภาพได้ง่ายยิ่งขึ้น ท่านสามารถตั้งชุมชนตาม “ป้ายคำ” ที่ติดไว้ด้านล่างบันทึก ขอเพียง blogger ติดป้ายคำท้ายบันทึกทุกครั้งที่เขียน บันทึกเหล่านั้นก็จะถูกรวบรวมใน planet เดียวกัน ทำให้ง่ายต่อการค้นหาของผู้ที่สนใจในเรื่องนั้นๆ การแลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องใดๆก็ตาม จะง่ายขึ้นเป็นทวีคูณเลยทีเดียว
 
== โยงภายนอก ==
* [http://gotoknow.org เว็บไซต์ gotoknow.org]
 
[[หมวดหมู่:เว็บไซต์ไทย]]