ผลต่างระหว่างรุ่นของ "มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ศูนย์พณิชยการพระนคร"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Pongsak ksm (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Pongsak ksm (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 14:
| เว็บไซต์ = [http://www.bus.rmutp.ac.th/ www.bus.rmutp.ac.th]
}}
'''มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร วิทยาเขตพณิชยการพระนคร''' เป็นวิทยาเขตในสังกัดของ[[มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร]] ต่อมาได้มีการแบ่งส่วนราชการใหม่ จึงได้กำหนดให้เป็นการยกเลิกวิทยาเขตพาณิชยการนับแต่นเป็นต้นมา<ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2549/A/118/12.PDF กฎกระทรวงจัดตั้งส่วนราชการในมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร มีฐานะกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2549]</ref> โดยพื้นที่เดิมของวิทยาเขตได้จัดตั้งเป็นคณะบริหารธุรกิจ
== ประวัติ ==
บรรทัด 43:
== วันอาภากร ==
[[ไฟล์:งานวันอาภากร.jpg|thumb|right|งานวันอาภากร]]
'''วันอาภากร''' ตรงกับวันที่ [[19 ธันวาคม]] ของทุกปี ชาวพณิชยการพระนครถือว่าวันนี้เป็นวันสำคัญอย่างยิ่ง เพราะนอกจากจะเป็นวันคล้ายวันประสูติของพลเรือเอกพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์ (พระนามเดิม คือ "พระองค์เจ้าอาภากรเกียร์ติวงศ์") ซึ่งตรงกับวันที่ 19 ธันวาคม พ.ศ. 2423 พณิชยการพระนคร เข้าตั้งหลักปักฐานอยู่ที่บริเวณวังของเสด็จพ่อ ตั้งแต่ พ.ศ. 2491 เป็นต้นมา หลังจากนั้นประมาณ 55 ปีต่อมา พ.ศ. 2513-2514 ร้อยเอกสุวิทย์ ทัดพิทักษ์กุล ศิษย์เก่าพณิชยการพระนคร รุ่น 2491 ในฐานะนายกสมาคมนักเรียนเก่าพณิชยการพระนคร และศาสตราจารย์ธรรมนูญ อัคคพานิช (ผู้อำนวยการโรงเรียนพณิชยการพระนคร ในขณะนั้น) ไดีปรึกษาหารือกันว่า ที่ตั้งของพณิชยการพระนคร เคยเป็นที่ประทับของเสด็จพ่อมาก่อน และพระองค์ท่านก็ถือเป็นปูชนียบุคคล ที่ชาวไทยต่างยกย่องนับถือ และเป็นศูนย์รวมจิตใจของชาวพณิชยการพระนครอีกด้วย จึงเห็นสมควรว่า ควรจัดสร้างพระอนุสาวรีย์ของพระองค์ขึ้นประดิษฐานหน้าวิทยาเขตฯ ไว้เป็นอนุสรณ์ และยังเป็นวันที่คณาจารย์ นักศึกษา เจ้าหน้าที่ รวมไปถึงศิษย์เก่าร่วมใจกันประกอบพิธีทางศาสนา พิธีบวงสรวง เพื่อแสดงความกตัญญูกตเวทิตาต่อพลเรือเอกพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์ ผู้ให้สถานที่พักพิงและอาศัยวังนางเลิ้งก่อตั้งเป็น “พณิชยการพระนคร”
พณิชยการพระนคร เข้าตั้งหลักปักฐานอยู่ที่บริเวณวังของเสด็จพ่อ ตั้งแต่ พ.ศ. 2491 เป็นต้นมา หลังจากนั้นประมาณ 55 ปีต่อมา พ.ศ. 2513-2514 ร้อยเอกสุวิทย์ ทัดพิทักษ์กุล ศิษย์เก่าพณิชยการพระนคร รุ่น 2491 ในฐานะนายกสมาคมนักเรียนเก่าพณิชยการพระนคร และศาสตราจารย์ธรรมนูญ อัคคพานิช (ผู้อำนวยการโรงเรียนพณิชยการพระนคร ในขณะนั้น) ไดีปรึกษาหารือกันว่า ที่ตั้งของพณิชยการพระนคร เคยเป็นที่ประทับของเสด็จพ่อมาก่อน และพระองค์ท่านก็ถือเป็นปูชนียบุคคล ที่ชาวไทยต่างยกย่องนับถือ และเป็นศูนย์รวมจิตใจของชาวพณิชยการพระนครอีกด้วย จึงเห็นสมควรว่า ควรจัดสร้างพระอนุสาวรีย์ของพระองค์ขึ้นประดิษฐานหน้าวิทยาเขตฯ ไว้เป็นอนุสรณ์ และยังเป็นวันที่คณาจารย์ นักศึกษา เจ้าหน้าที่ รวมไปถึงศิษย์เก่าร่วมใจกันประกอบพิธีทางศาสนา พิธีบวงสรวง เพื่อแสดงความกตัญญูกตเวทิตาต่อพลเรือเอกพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์ ผู้ให้สถานที่พักพิงและอาศัยวังนางเลิ้งก่อตั้งเป็น “พณิชยการพระนคร”
 
== เรือนหมอพร ==
[[ไฟล์:เรือนหมอพร.jpg|thumb|right|เรือนหมอพร]]
'''เรือนหมอพร''' เป็นพิพิธภัณฑ์ที่จัดแสดงเรื่องราวที่เกี่ยวเนื่องกับพลเรือเอกพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์ ภายในจัดแสดงเครื่องใช้ประจำพระองค์และเครื่องมือแพทย์ และยังเป็นศูนย์วัฒนธรรมของวิทยาเขตพณิชยการพระนคร โดยที่ดินบริเวณนี้ในอดีตเคยเป็นวังที่ประทับของ กรมหลวงชุมพรฯ เหตุที่ให้ชื่อเรือนหลังนี้ว่า “เรือนหมอพร” เพราะทางวิทยาเขตฯ เคยใช้เรือนหลังนี้เป็นเรือน
ภายในจัดแสดงเครื่องใช้ประจำพระองค์และเครื่องมือแพทย์ และยังเป็นศูนย์วัฒนธรรมของวิทยาเขตพณิชยการพระนคร โดยที่ดินบริเวณนี้ใน
อดีตเคยเป็นวังที่ประทับของ กรมหลวงชุมพรฯ เหตุที่ให้ชื่อเรือนหลังนี้ว่า “เรือนหมอพร” เพราะทางวิทยาเขตฯ เคยใช้เรือนหลังนี้เป็นเรือน
พยาบาลมาก่อน ส่วนชื่อ “หมอพร” เป็นพระนาม กรมหลวงชุมพรฯ ในบทบาทที่เป็นหมอรักษาคนไข้